งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเตรียมความพร้อมเมื่อกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการมีผลใช้บังคับ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเตรียมความพร้อมเมื่อกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการมีผลใช้บังคับ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเตรียมความพร้อมเมื่อกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการมีผลใช้บังคับ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

2 จัดแบ่งงานภายใน + จัดกรอบอัตรากำลัง
ขั้นตอนการดำเนินการ กิจกรรม ผลผลิต ผู้รับผิดชอบ 1. ส่วนราชการจัดเตรียมแบ่งงานภายในส่วนราชการต่ำกว่ากอง 1 ระดับ (กลุ่ม/ส่วน/ฝ่าย) หรือ 2 ระดับ (งาน) ตามที่ปรากฏในกฎกระทรวง ให้สอดคล้องกับอำนาจหน้าที่ที่กำหนด โครงสร้างการแบ่งงานภายในต่ำกว่ากอง 1 ระดับ หรือ 2 ระดับ พร้อมทั้งระบุอำนาจหน้าที่ที่จะปฏิบัติ จัดกรอบอัตรากำลังในแต่ละหน่วยงาน ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่ง (ว 2/2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม) กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่ ร่วมกับสำนัก/กอง จัดแบ่งงานภายใน + จัดกรอบอัตรากำลัง กฎกระทรวง

3 ขั้นตอนการดำเนินการ กิจกรรม ผลผลิต ผู้รับผิดชอบ 2. จัดทำบัญชี ดังนี้
2.1 จัดตำแหน่งข้าราชการ (บัญชี 1) 2.2 จัดคนลงตามกฎกระทรวงให้สอดคล้องกับการจัดแบ่งงานภายใน (บัญชี 2) จำแนกเป็น : ข้าราชการ/พนักงานราชการ/ลูกจ้างประจำ 2.3 บัญชีตำแหน่งข้าราชการตามกฎกระทรวงใหม่ (บัญชี 3)** บัญชีตำแหน่งข้าราชการ และบัญชีจัดคนลง ที่สอดคล้องกับโครงสร้างกฎกระทรวงใหม่และการจัดแบ่งงานภายในตามข้อ 1 เพื่อเสนอ อ.ก.พ.กระทรวงฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดแบ่งงานภายในและการจัดคนลงตามกฎกระทรวง กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่ ร่วมกับสำนัก/กอง **หมายเหตุ บัญชี 3 สำหรับใช้ในงานอัตรากำลัง กจ. บัญชี 1 บัญชี 2

4 หลักการจัดอัตรากำลัง
จัดอัตรากำลังตามภารกิจที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และที่กำหนดในกฎกระทรวงฯ คงการกำหนดตำแหน่งประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่งไว้ตามเดิม (ยกเว้น ตำแหน่งที่ต้องปรับปรุงเป็นประเภทอำนวยการ ระดับต้น : กองตั้งใหม่) กรณีที่ต้องตัดโอนอัตรากำลังตามภารกิจ จากกรมหนึ่ง ไปยังอีก กรมหนึ่ง ภายในกระทรวง ให้ตัดโอนตามกรอบอัตรากำลังที่เคยกำหนดไว้เดิม (ตรวจสอบจากเอกสารที่เสนอ ก.พ.ร.) ไม่ตัดโอนอัตรากำลังจากส่วนภูมิภาค หรือส่วนกลางที่ตั้งในภูมิภาค ไปกำหนดเป็นตำแหน่งในส่วนกลาง เว้นแต่ ภารกิจนั้นยุบเลิก หรือหมดความจำเป็นลงเช่น ถ่ายโอนให้ท้องถิ่น เป็นต้น

5 ตัวอย่างบัญชีจัดตำแหน่ง (บัญชี 1)

6 ตัวอย่างบัญชีจัดคนลง (บัญชี 2)

7 ขั้นตอนการดำเนินการ กิจกรรม ผลผลิต ผู้รับผิดชอบ
3. จัดทำวาระเพื่อพิจารณา เสนอ อ.ก.พ.กระทรวง ให้ความเห็นชอบการจัดแบ่งงานภายในตามกฎกระทรวงใหม่ รวมทั้งบัญชีจัดตำแหน่งและบัญชีจัดคนลง มติ อ.ก.พ. กระทรวง และรายงานการประชุม กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่ และฝ่ายเลขานุการ อ.ก.พ.ฯ 4. จัดทำหนังสือแจ้งมติ อ.ก.พ.กระทรวง พร้อมทั้งรายงานการประชุม บัญชีจัดตำแหน่งและ บัญชีจัดคนลง - หนังสือแจ้งมติ พร้อมรายงานการประชุม บัญชี 1/บัญชี และ - หนังสือแจ้ง ก.พ. เพื่อขอความเห็นชอบการให้ได้รับเงินประจำตำแหน่ง (เฉพาะตำแหน่งที่มีสิทธิได้รับตามกฎ ก.พ.ฯ) บัญชี 1 ก.พ. สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง บัญชี 2 มติ อ.ก.พ. /รายงานการประชุม

8 ขั้นตอนการดำเนินการ กิจกรรม ผลผลิต ผู้รับผิดชอบ
5. การแต่งตั้ง อ.ก.พ. กรม ตามมาตรา 17 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 - เมื่อ อ.ก.พ.กระทรวง มีมติเห็นชอบ การจัดโครงสร้างการแบ่งงานภายใน การจัดตำแหน่งและการจัดคนลงแล้ว ให้ส่วนราชการดำเนินการแต่งตั้ง อ.ก.พ.กรม ตามองค์ประกอบที่กำหนด ในมาตรา 17 กรณีที่ส่วนราชการไม่สามารถดำเนินการแต่งตั้ง อ.ก.พ. กรม ได้จะด้วยเหตุใดก็ตาม ให้ทำหนังสือขอหารือ ก.พ. โดยด่วน กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่

9 หลักเกณฑ์การจัดตำแหน่งตามโครงสร้างส่วนราชการใหม่ เปลี่ยน ประเภท
หากเป็นการเกลี่ยอัตรากำลังระหว่างส่วนราชการภายในกระทรวง หรือการเกลี่ยอัตรากำลังระหว่างส่วนราชการภายในกรม เปลี่ยน ประเภท สายงาน และระดับตำแหน่ง ไม่เปลี่ยน ประเภท สายงาน และระดับตำแหน่ง อ.ก.พ. กระทรวง หรือ อ.ก.พ. กรม จัดตำแหน่งที่มีอยู่เดิมลง ตามโครงสร้างใหม่ อ.ก.พ. กระทรวง จัดตำแหน่งลง ตามโครงสร้างใหม่ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด (ว 2/58) ไม่เป็นการเกลี่ยอัตรากำลังที่กำหนดไว้ในราชการบริหารส่วนภูมิภาค หรือส่วนกลางที่ตั้งในภูมิภาค ไปกำหนดเป็นตำแหน่งในราชการบริหารส่วนกลาง

10 ขรก. ประเภทวิชาการ(ปก/ชก) – 2 ขรก. ประเภททั่วไป (ปง/ชง) – 2 (หรือ)
หลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งประเภทวิชาการ หัวหน้ากลุ่มงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ (ที่ต่ำกว่ากอง 1 ระดับ) กอง/สำนัก... ผู้อำนวยการ หัวหน้ากลุ่มงาน (ชำนาญการพิเศษ)** กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย **ต้องมีผู้ใต้บังคับบัญชา ไม่น้อยกว่า 4 ตำแหน่ง ขรก. ประเภทวิชาการ(ปก/ชก) – 2 ขรก. ประเภททั่วไป (ปง/ชง) – 2 (หรือ) พรก./ลูกจ้างประจำ ที่กำหนดเป็นกรอบ พรก. ปฏิบัติงานเช่นเดียวกับ ขรก. : ขรก. = 2 : 1

11 หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป ขรก. ประเภททั่วไป (ปง/ชง) – 2
หลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งประเภททั่วไป หัวหน้ากลุ่มงาน ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส (ที่ต่ำกว่ากอง 1 ระดับ) กอง/สำนัก... ผู้อำนวยการ หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป (อาวุโส)** กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย **ต้องมีผู้ใต้บังคับบัญชา ไม่น้อยกว่า 6 ตำแหน่ง ขรก. ประเภททั่วไป (ปง/ชง) – 2 พรก./ลูกจ้างประจำ ที่กำหนดเป็นกรอบ พรก. ปฏิบัติงานเช่นเดียวกับ ขรก. : ขรก. = 2 : 1

12 ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ระดับต้น
หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรม ที่ปรากฏตามกฎกระทรวงฯ (กองตั้งใหม่) นำตำแหน่งว่างที่มีเงินมากำหนด โดยไม่ต้องยุบเลิกตำแหน่ง จพ.ธุรการ (ตำแหน่งเลขที่ 259) ผู้อำนวยการกอง... ระดับต้น (ตำแหน่งเลขที่ 259)

13 ระบุยุทธศาสตร์สำคัญและแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (ระยะยาว) และแผนปฏิบัติราชการประจำปี (ระยะสั้น) ในส่วนที่สอดคล้องกับอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกอง ตามที่ปรากฏในกฎกระทรวง ซึ่ง “ผู้อำนวยการกอง” จะต้องปฏิบัตินั้น มีภารกิจหลักกี่ด้าน แต่ละด้านบทบาทที่ดำเนินการคือเรื่องใด ดำเนินการอย่างไร ผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบ ประโยชน์ ที่เกิดจากการดำเนินการ รวมทั้งความเชื่อมโยงกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับกระทรวง กรม ส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นภายนอกกระทรวงด้วย ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการ 1 ปี (แผนงาน/โครงการสำคัญ หน้าที่และความรับผิดชอบ (เปรียบเทียบ เดิม/ใหม่) ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ทั้งผลผลิต/ผลลัพธ์ของงาน ตามยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี /แผนปฏิบัติราชการประจำปี ผลกระทบ/ประโยชน์ที่ได้รับจาก การดำเนินการตามยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / แผนปฏิบัติราชการประจำปี หัวหน้าส่วนราชการ **กรณีที่จะปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งเป็นตำแหน่งประเภท อำนวยการ ระดับสูง จะต้องพิจารณาในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ ผอ. กอง ** (อำนวยการ ระดับต้น) ระบุ ภาระงาน ปริมาณงาน คุณภาพของงาน ผลสำเร็จของงาน ที่เป็นรูปธรรม ทั้งในด้านหลักเกณฑ์ วิธีการ แนวทางปฏิบัติ ที่นำไปสู่การดำเนินการที่เป็นมาตรฐานและพัฒนางานตามภารกิจหลักที่เป็นอำนาจหน้าที่ของกองนั้น ๆ ในทุกมิติ ตามหลักเกณฑ์ ว 2/2558 โดยแสดงผลงานในระยะ 3 ปี ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ระบุให้เห็นความเปลี่ยนแปลงทั้งในเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ อันเป็นสาระสำคัญที่เชื่อมโยงกับการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ฯ และแผนปฏิบัติราชการในแต่ละช่วงที่ผ่านมาด้วย

14 เกี่ยวกับการขอเพิ่มอัตราข้าราชการตั้งใหม่
แนวทางการดำเนินการ เกี่ยวกับการขอเพิ่มอัตราข้าราชการตั้งใหม่ หนังสือคณะกรรมการกำหนดเป้าหมายและนโยบายกำลังคนภาครัฐ (คปร.) ที่ นร /83 ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2559)

15 1. จัดทำยุทธศาสตร์/แผนงาน ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ความมั่นคง การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ส่วนราชการจัดทำยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการ สำหรับปฏิบัติราชการระยะ 20 ปี ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และปรับโครงสร้าง ส่วนราชการภายในเพื่อรองรับการขับเคลื่อนภารกิจ/งานตามยุทธศาสตร์ นโยบาย และงานมอบหมายพิเศษ การพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและ เท่าเทียมกันทางสังคม การสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Agenda Based Function Based Area Based การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

16 2. จัดอัตรากำลังภายในกรมก่อนขอเพิ่มอัตราตั้งใหม่
จัดสรรอัตรากำลังภายใน มอบหมายงานให้สอดคล้อง กับโครงสร้างที่ปรับปรุงใหม่ ขอเพิ่มอัตราข้าราชการตั้งใหม่ คำขอในภาพรวมของกระทรวง บูรณาการการใช้อัตรากำลัง ของทุกส่วนราชการในกระทรวง สอดคล้องกับความจำเป็น ตามภารกิจ/ยุทธศาสตร์/นโยบาย จำเป็น โครงสร้างใหม่ สำนัก/กอง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุบเลิกภารกิจที่หมดความจำเป็น/เกลี่ยอัตรากำลัง ใช้รูปแบบการจ้างงานอื่น แผนอัตรากำลังรองรับภารกิจ ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 แผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ 1616

17 อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณาเห็นชอบ
3. การพิจารณาคำขอเพิ่มอัตรากำลังตั้งใหม่ อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณาเห็นชอบ คปร. ครม. คำขอของส่วนราชการ คำขอของส่วนราชการ คำขอของส่วนราชการ เงื่อนไขตามมาตรการบริหารและพัฒนากำลังคนภาครัฐ (พ.ศ – 2561) “...ไม่ให้เพิ่มอัตรากำลังข้าราชการตั้งใหม่ในภาพรวมสำหรับข้าราชการทุกประเภท ยกเว้นกรณีจำเป็นที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้...” 1717

18 คปร. ครม. คปร. ครม. 4. การพิจารณาทบทวนคำขอ
อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณาทบทวนคำขอ เพื่อให้มีการบูรณาการ การใช้อัตรากำลังในภาพรวมของทั้งกระทรวง คปร. ครม. คำขอที่ส่งมาก่อน 17 พ.ค. 59 มีความจำเป็น/ แก้ไขปัญหาเร่งด่วน ของประเทศ คปร. ครม. พิจารณาเป็นรายกรณี

19 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การขอเพิ่มอัตราข้าราชการตั้งใหม่

20

21

22 แบบวิเคราะห์ความต้องการเพิ่มอัตรากำลัง ตามยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ คือ หัวใจสำคัญในการดำเนินการ

23

24

25

26

27 กรอบระยะเวลาการดำเนินการของกระทรวง
1 จัดทำ ทบทวนยุทธศาสตร์ แผนงาน ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ปรับโครงสร้างภายในส่วนราชการ เพื่อรองรับการขับเคลื่อนภารกิจตามยุทธศาสตร์ฯ 2 การขอเพิ่มอัตรากำลังตั้งใหม่ ให้จัดสรรอัตรากำลังภายในกรม มอบหมายงานให้สอดคล้องกับ โครงสร้างสำนัก/กองที่ปรับปรุงใหม่ พิจารณายุบเลิกภารกิจที่หมดความจำเป็น/เกลี่ยอัตรากำลัง/เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารอัตรากำลัง/งาน 3 วิเคราะห์ความต้องการ/จัดทำแผนอัตรากำลังของแต่ละส่วนราชการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (แผนระยะที่ 1-4) กระทรวงจัดทำคำขอเพิ่มอัตรากำลัง โดยพิจารณาบูรณาการการใช้อัตรากำลังของทุกส่วนราชการให้สอดคล้องกับบทบาทภารกิจ นโยบาย และยุทธศาสตร์ 4 เสนอคำขอที่ได้บูรณาการทบทวนการใช้อัตรากำลังในภาพรวมของกระทรวง เสนอ อ.ก.พ. กระทรวง ให้ความเห็นชอบก่อนเสนอ คปร./คพร. พิจารณา

28 ขอขอบคุณ.... สำนักงาน ก.พ. สำนักกฎหมาย สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน
สำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน


ดาวน์โหลด ppt การเตรียมความพร้อมเมื่อกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการมีผลใช้บังคับ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google