Blue Ocean Economy เศรษฐกิจสีคราม : ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล บรรยายให้กับ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องทะเลครั้งที่ 3 คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการกลุ่มบริษัท V-SERVE GROUP รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย 21 กรกฎาคม 2560
ความสำคัญของปัญหาการขนส่งสินค้าทะเลเป็นร้อยละ 91 ของการขนส่งระหว่างประเทศ ประเทศไทยมีพื้นที่ชายฝั่งทะเล ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามันรวมเป็นระยะทาง3,000 กิโลเมตร พื้นที่ทางทะเล Marine Zone 350,000 ตร.กม.
Blue Ocean Economy ความสมดุลของเศรษฐกิจทะเลสีคราม - เส้นทางคมนาคมขนส่งทางทะเลผลประโยชน์แห่งชาติปีละ 21.517 ล้านล้านบาท เกี่ยวข้องกับการจ้างงาน 37.46 ล้านคนและจำนวนครัวเรือน 22.8 ล้านครัวเรือน อธิปไตยพื้นที่ทางทะเล 350,000 ตร.กม. ชายฝั่งทะเล 3,000 กิโลเมตร พื้นที่ทับซ้อนมากกว่า 40,000 ตร.กม. (ตามอนุสัญญาเจนีวา คศ. 1958/1982) การค้าผิดกฎหมาย, การค้ามนุษย์, การประมงผิดกฎหมาย - โจรสลัด ดูแลปกป้องทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล การกู้ภัยทางทะเล Climate Change Sea Pollution Eco-Liners & Tourism Eco-Fishing & Coastal Farm Coastal Erosion Sea life & Ecology Care Ecology ระบบนิเวศน์ Security ความมั่นคง โดย : ดร.ธนิต โสรัตน์ (2017)
มูลค่าผลประโยชน์ทางทะเลของประเทศไทย (ต่อปี) (ตัวเลขอาจเปลี่ยนแปลงไปตามราคาน้ำมันโลกและอัตราแลกเปลี่ยน) เท่ากับร้อยละ 161.3 ของ GDP ลำดับ รายการ ล้านล้านบาท 1 มูลค่าการนำเข้า-ส่งออกทางทะเล 14.483 2 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับปิโตรเคมิคอล-พลาสติก 3.0 3 มูลค่านำเข้า-ส่งออกน้ำมันดิบ-น้ำมันสำเร็จรูป-แก็ส-เชื้อเพลิง (ปี 2559) /ปี 1.087 4 รายได้จากอุตสาหกรรมบริการโลจิสติกส์ที่เกี่ยวกับทะเล 0.794 5 รายได้จากการท่องเที่ยวทางทะเล (ต่างชาติ) 0.669 6 รายได้จากการขุดเจาะน้ำมันดิบ-แก็สในอ่าวไทย 0.620 7 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหารทะเลบรรจุกระป๋องและแปรรูป (ปี 2557) 0.277 8 รายได้ภาครัฐจากการจัดหาปิโตรเลียม 0.198 9 มูลค่ากิจการประมง 0.123 10 รายได้จัดเก็บภาษีของกรมศุลกากร 0.119 11 อุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงประมงชายฝั่ง 0.0910 12 รายได้อุตสาหกรรมอู่ต่อเรือและซ่อมเรือ 0.045 13 รายได้จากการท่าเรือแห่งประเทศไทย 0.011 รวม 21.517 ที่มา : รวบรวมโดย ดร.ธนิต โสรัตน์ (ปี 2559)
1. การพัฒนาท่าเรือ EEC เป็นประตูเศรษฐกิจของภูมิภาค Regional Sea Port ท่าเรือแหลมฉบังเฟส 3 เป็น Main gateway (เพิ่มจาก 11 ล้าน TEU เป็น 18 ล้าน TEU) ท่าเรือน้ำลึกมาบตาพุดระยะที่ 3 สนามบินอู่ตะเภาเป็นสนามบินแห่งชาติแห่งที่ 3 เขตเศรษฐกิจพิเศษระเบียงเศรษฐกิจตะวันออกรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ฉะเชิงเทรา-ชลบุรี-ระยอง) รถไฟความเร็วสูง (HSR) กทม.- ระยอง
Port Connectivity การเชื่อมโยงท่าเรือหลักของภูมิภาค Saigon Port (SNP) Ranong Port Lamchabang Port Penang Port Klang Port
Land & Sea Link East – West and North – South , Economic Corridor ท่าเรือ เซินเจิ้น ซิงตาว ฮ่องกง Land & Sea Link East – West and North – South , Economic Corridor เชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน GMS / MJ ท่าเรือกวนเล่ย R3A ท่าเรือดานัง R9 ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือทวาย ท่าเรือไซ่ง่อน ท่าเรือหลักฝั่งตะวันตก ??? ท่าเรือกรัง ท่าเรือตันจุง เพเลพาส ธนิต โสรัตน์ TANIT SORAT
20 ปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยขับเคลื่อนจากอุตสาหกรรมชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก (Eastern Seaboard ) Eastern Seaboard & EEC
ยุทธศาสตร์พัฒนาโครงการ Southern Sea Board อนาคตเศรษฐกิจไทยอยู่ที่ อุตสาหกรรมต้นน้ำชายฝั่งทะเลภาคใต้
Blue Ocean Economy เศรษฐกิจอาเชียนจะเป็นเศรษฐกิจใหม่ที่มีการเติบโตสูงสุดของโลก GMS จีน ACMECS ไทย BIMSTCE อินเดีย IMT-GT อินโดนีเซีย
5. ยุทธศาสตร์พัฒนาสะพานเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก แนว Landbridge ขนอม สิชล กระบี่ ทับละมุ สงขลา สตูล กระบี่ – ขนอม ทับละมุ – สิชล สตูล - สงขลา East-West Costal Land Bridge การพัฒนาโครงการLand Bridge สงขลา - สตูล ธนิต โสรัตน์
Mukdahan -Savannakhet ศตวรรษที่ 21 ประเทศไทย บริบทเวทีการค้าโลก การเป็นศูนย์กลางการผลิต-การค้า-ท่องเที่ยว และการลงทุนของ Asia Pacific PRC Chiang Rai Myanmar Lao PDR Develop Sister Cities as a production bases Mukdahan -Savannakhet MaeSod-Myawaddy Yangon EWEC BKK. Vietnam NSEC Andaman Sea Cambodia Dawai SEC Trad- Koh Kong Hochiminh City New Port Gulf of Thailand Song-Kla Pak-Bara
New Global Marinetime Route การปรับเปลี่ยนเส้นทางการเดินเรือใหม่ ส่วนหนึ่งที่จะเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับธุรกิจการขนส่งน้ำมันดิบของภูมิภาคนี้ ที่จะสามารถปรับมาใช้เส้นทางเดินเรือเข้าสู่”ทวาย” ซึ่ง ”เป็นเส้นทางลัด” แทนเส้นทางการขนส่งที่มีอยู่เดิม สำหรับประเทศในกลุ่มเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 13
ผลประโยชน์ของชาติทางทะเลกับ ผลประโยชน์ร่วมของเพื่อนบ้าน วิเคราะห์ SWOT ของไทย Strengths จุดแข็งของไทยคือ ไทยเป็น Hub ของภูมิภาค ประเทศไทยเป็นประเทศ Export And Manufacture Country Weaknesses จุดอ่อนของไทยคือ การเมืองในประเทศ , การไม่มีท่าเรือชายฝั่งตะวันตก การไม่มีการท่าเรือฝั่งตะวันตก การขาดอำนาจการต่อรองทางทะเล Opportunities โอกาสของไทยคือ การเติบโตทางเศรษฐกิจของโลกและเอเชียแปซิฟิกภูมิภาคบนเส้นทางเรือใหม่ Threats อุปสรรคของไทยคือ พื้นที่ทับซ้อนทางทะเล, ความไม่มีเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศ, นโยบาย Blue Economy ทั้งภาครัฐและเอกชนไม่เข้าใจหรือเข้าใจไม่ตรงกัน, การทำความเข้าใจกับกลุ่ม NGOs
Blue Economy Direction เศรษฐกิจทะเลสีครามจะไปทางไหน ส่งเสริมสร้างองค์ความรู้ สร้างจิตสำนึกและความหวงแหน ความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของผลประโยชน์ทางทะเลแห่งชาติ เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของประเทศและทุกภาคส่วน รัฐ-เอกชนต้องเห็นโจทย์เดียวกันและเข้าใจตรงกัน ตกผลึกแนวคิดและทิศทางที่จะไป ด้วยการบูรณาการงานศึกษาและวิจัยให้เป็นไปในทางเดียวกัน Naval Sea & Blue Economy จะผสมผสานไปด้วยกันได้อย่างไร จัดทำแผนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจทางทะเลเป็นวาระแห่งชาติ โดยให้มีความสมดุลทั้งด้านมิติเศรษฐกิจ-ด้านความมั่นคง-ระบบนิเวศน์ทางทะเล การขับเคลื่อนการมีการจัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนรัฐ-ความมั่นคง-เอกชน-วิชาการ เพื่อการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ เพื่อให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืนคณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจทางทะเล (กนท.) โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานเพื่อกำหนดนโยบาย-แผนปฏิบัติการ และมีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง
Blue Ocean Economy ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านความมั่นคง มิติด้านสิ่งแวดล้อม
END ข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.tanitsorat.com หรือ www.fti.or.th