งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการบริษัทในเครือ วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการบริษัทในเครือ วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 MARITIME NATION ECONOMY สมุททานุภาพเศรษฐกิจทางทะเล : ผลประโยชน์แห่งชาติที่ต้องปกป้อง
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการบริษัทในเครือ วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป และอดีตรองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เอกสารประกอบการบรรยายเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจทางทะเล ณ สถาบันวิชาการ วิทยาลัยกองทัพเรือ วันที่ 3 มกราคม 2562

2 ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจทางทะเลของไทย
มูลค่าผลประโยชน์ทางทะเลของประเทศไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม (ปี 2561) มีมูลค่ามากกว่า ล้านล้านบาท หรือเท่ากับ 1.5 เท่าของจีดีพี 1. บริบทความมั่งคั่งทางทะเลของไทยทำให้เป็นประเทศซึ่งมีศักยภาพทางเศรษฐกิจและการพัฒนาอยู่ในระดับแนวหน้าของอาเซียนและเอเชีย 2. อาณาเขตทางทะเลมีความสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรทั้งด้านประมง ด้านแหล่งแก็สและน้ำมันรวมทั้งสินแร่อื่นๆ และยังเป็นเส้นทางโลจิสติกส์ทางเรือเดินสมุทรระหว่างประเทศที่สำคัญของภูมิภาค 3. 4. ชายฝั่งทะเลของไทยมีความสวยงามเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของโลก มีท่าเรือขนาดใหญ่และมีอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่ชายฝั่งทะเล เช่น อุตสาหกรรมปิโตรเคมีคอล อุตสาหกรรมถลุงเหล็ก อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง 5.

3 สินค้าผ่านท่าเรือหลัก (พ.ศ. 2560)
จำนวนเที่ยว จำนวนตู้ (TEU) ปริมาณสินค้าผ่านท่า (ล้านตัน) หมายเหตุ ท่าเรือกรุงเทพ 2,641 1.498 26.964 เฉพาะตู้คอนเทนเนอร์ ท่าเรือแหลมฉบัง 5,890 7.617 137.12 ท่าเรือระนอง 242 - 0.066 ท่าเรือสงขลา 734 0.220 6.882 ท่าเรืออื่นๆ 3,382 0.080 30.290 ท่าเรือชายฝั่ง 2,755 0.551 46.612 รวม 15,641 9.966 247.93 รวมขนส่งตู้และเทกอง ที่มา : สถาบันขนส่งจุฬาลงกรณ์และกรมเจ้าท่า

4 มูลค่าผลประโยชน์ทางทะเลของประเทศไทย (ต่อปี) (ตัวเลขอาจเปลี่ยนแปลงไปตามราคาน้ำมันโลกและอัตราแลกเปลี่ยน) แก้ไข 3 มกราคม 2562 ลำดับ รายการ ล้านล้านบาท 1 มูลค่าจากเส้นทางการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ (การนำเข้า-ส่งออกทางทะเล) 14.483 2 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับปิโตรเคมิคอล-พลาสติก 3.415 3 มูลค่านำเข้า-ส่งออกน้ำมันดิบ-น้ำมันสำเร็จรูป-แก๊ส-เชื้อเพลิง (ปี 2561) /ปี 1.743 4 รายได้จากอุตสาหกรรมบริการพาณิชย์นาวี 0.843 5 รายได้จากการท่องเที่ยวทางทะเล (ต่างชาติ) 1.32 6 รายได้การท่องเที่ยวจากทางทะเล (ในประเทศ) 0.55 7 รายได้จากการขุดเจาะน้ำมันดิบ-แก๊สในอ่าวไทย 0.619 8 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับประมง-อาหารทะเลบรรจุกระป๋องและแปรรูป (ปี 2561) 0.728 9 รายได้ภาครัฐจากการจัดหาปิโตรเลียม 0.198 10 รายได้จัดเก็บภาษีของกรมศุลกากร 0.109 รวม 24.008 ที่มา : รวบรวมโดย ดร.ธนิต โสรัตน์ (ปี 2562)

5 ความมั่นคั่งทางเศรษฐกิจของไทยเกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางทะเลอย่างไร
ความมั่นคั่งจากเส้นทางโลจิสติกส์ทางทะเล ชายฝั่งทะเลตะวันออก ตั้งแต่จังหวัดตราดไปจนถึงจังหวัดนราธิวาสซึ่งเป็นเส้นทางหลักการขนส่งจากอ่าวไทยเชื่อมต่อทะเลจีนใต้และมหาสมุทรอินเดียอยู่ในแถบเส้นทางเดินเรือหลักของโลก “INTRA ASIA PACIFIC” และ TRANS PACIFIC-USA ชายทะเลฝั่งตะวันตก อยู่ที่ภาคใต้ของไทยตั้งแต่จังหวัดระนองไปจนถึงจังหวัดสตูลมีสัดส่วนเชิงมูลค่าประมาณร้อยละ 30 และเชิงปริมาณเที่ยวเรือเพียงร้อยละ จากมหาสมุทรอินเดียผ่านคาบสมุทรแอฟริกาเข้าสู่คลองสุเอชเชื่อมเส้นทางเดินเรือ TRANS MEDITERRANEAN & INTRA EUROPE

6 (มูลค่านำเข้า-ส่งออกทางทะเล 14.483 ล้านล้านบาท)

7 ปัญหาการทับซ้อนของเขตแดนทางทะเล (Over Lapping Claim Areas)
พื้นใต้อ่าวไทยเป็นแหล่งน้ำมันดิบ-แก๊สธรรมชาติ ทะเลไทยโดยเฉพาะบริเวณอ่าวไทยเป็นแหล่งอุดมด้วยแก๊สธรรมชาติแหล่งที่สำคัญ ประเทศต่างๆในภูมิภาคต่างอ้างสิทธิความเป็นเจ้าของกอปรกับมีพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลจากการอ้างสิทธิของประเทศต่างๆ เช่น เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซีย และเมียนมาร์ เป็นพื้นที่อาณาเขตทางทะเลกว่า 50,000 ตารางกิโลเมตร แหล่งแก๊สธรรมชาติที่สำคัญ

8 การประมงเป็นความมั่นคงทางอาหารแห่งชาติ มูลค่า 7.28 แสนล้านบาท/ปี
สินค้าสัตว์น้ำจากทะเลและประมงชายฝั่งเป็นแหล่งโปรตีนที่สำคัญ แต่ละปีมีปริมาณสัตว์นำจากทะเลเข้าสู่ตลาดเพื่อการบริโภคและอุตสาหกรรมแปรรูปมากกว่า 1.22 ล้านตัน อุตสาหกรรมประมงมีมูลค่าปีละ 123,000 แสนล้านบาทแต่ละปีไทยผลิตอาหารกระป๋องแปรรูปและแช่แข็งรวมกันประมาณ 515,000 แสนล้านบาทเป็นความมั่นคงทางอาหารและเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของประเทศ

9 การไม่มีท่าเรือหลักฝั่งทะเลตะวันตกเป็นความเสี่ยงของประเทศ
ทะเลตะวันตกของไทยไม่มีท่าเรือน้ำลึกขนาดใหญ่ (มีเพียงท่าเรือระนองซึ่งอยู่ในทำเลค่อนข้างไม่เหมาะสม) 1. เป็นความเสี่ยงของประเทศซึ่งน้ำมันดิบเกือบทั้งหมดมากจากฝั่งทะเลตะวันตก ซึ่งประเทศไทยไม่มีท่าเรือน้ำลึกขนาดใหญ่ 2. การขนส่งสินค้าจากซีกโลกตะวันตกเพื่อเข้าสู่อ่าวไทยต้องผ่านช่องแคบมะละกา เปลี่ยนเรือที่ท่าเรือสิงคโปร์หรือที่ท่าเรือพอร์ตกลัง 3.

10 ยุทธศาสตร์คลองไทยต้องมีความชัดเจนทั้งมิติมั่นคงและมั่งคั่ง
การผลักดันให้มีการขุดคลองลัดระหว่างทะเลอันดามันกับฝั่งอ่าวไทยในช่วง 5 ปีหลังค่อนข้างมีความเข้มข้นมีการกำหนดพื้นที่แนว 9A 1. เส้นทางสายไหมทางทะเลของจีนมีคลองไทยอยู่ในแนวเส้นทางเชื่อมกับท่าเรือ “ฮัมบันโตตา” ซึ่งรัฐบาลศรีลังกาให้จีนเช่า 99 ปีมูลค่าลงทุนมากกว่า 5.0 หมื่นล้านบาท โดยจีนมุ่งหวังให้เป็น PORT HUB เพื่อพักเรือและรับสินค้าก่อนที่จะเข้าคลองสุเอสไปสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนี่ยนและมหาสมุทรแอตแลนติก 2. คลองไทยในบริบทของจีนจึงไม่ใช่แค่เส้นทางลัดช่องแคบมะละกาซึ่งร่นระยะทางได้เพียง 1,000 กิโลเมตรประหยัดเวลาได้ไม่ถึง 1 วัน 3. เป็นเส้นทางขนส่งสินค้าจากจีนซึ่งเป็น “MEGA DIRECT VESSEL” รวมไปถึงเรือน้ำมันแทงก์เกอร์ขนาดใหญ่เป็นเส้นทางลัดจากท่าเรือจีนสู่แอฟริกาและยุโรปฝั่งตะวันตก 4. การศึกษาจึงต้องมีความรอบคอบถึงผลประโยชน์แห่งชาติทั้งด้านเปิดพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ การเป็นท่าเรือของภูมิภาค การสร้างงานใหม่ตลอดจนผลกระทบด้านการถูกครอบงำจากจีนและด้านนิเวศน์รวมถึงกลายเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ของโลก 5.

11 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสมุททานุภาพเศรษฐกิจทางทะเล : ผลประโยชน์แห่งชาติที่ต้องปกป้อง (1)
ต้องผลักดันให้ตระหนักรู้ในทุกภาคส่วนของสังคมไทย ที่ต้องหวงแหนและปกป้อง ควรทำเป็นระบบและครอบคลุมในทุกมิติ ซึ่งกองทัพเรือควรเป็นเจ้าภาพและสนับสนุนให้มีสมาคมในลักษณะดังกล่าว 1. แผนยุทธศาสตร์ในการปกป้องดูแลรักษาผลประโยชน์เศรษฐกิจทางทะเล ครอบคลุมทุกๆมิติ เช่น ด้านการปกป้องเส้นทางเดินเรือ เรือขนส่งสินค้าระหว่างประเทศประเภทคอนเทนเนอร์ประมาณ 15,641 เที่ยวสินค้ากว่า ล้านTEU เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นเส้นทางโลจิสติกส์ทางทะเลและด้านการลงทุนจากต่างประเทศเช่นการลงทุนในพื้นที่อีอีซี (EEC) ยุทธศาสตร์ด้านปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ มูลค่าอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและรายได้ขุดเจาะแก๊สธรรมชาติรวมกันประมาณ ล้านล้านบาท การมีสมุททานาวีในการเจรจามีพื้นที่ทับซ้อนกับประเทศเพื่อนบ้าน (OVERLAP AREA)โดยเฉพาะกับประเทศกัมพูชา เส้นหลักทางบก 73 – (เกาะกูด) กับประเทศเมียนมา เช่น เกาะหวาย , เกาะขี้นก, เกาะคัน - ความมั่นคงด้านอุตสาหกรรมประมง และความมั่นคงด้านอาหาร สินค้าอาหารทะเลแปรรูปส่งออกรวมกันประมาณปีละ 7.29 แสนล้านบาทต่อปีไม่นับรวมการแปรรูปเพื่อจำหน่ายในประเทศ เกี่ยวข้อง ( IUU FISHING ) ประมงผิดกฎหมาย การค้ามนุษย์และการจดทะเบียนเรือประมง 2.

12 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสมุททานุภาพเศรษฐกิจทางทะเล : ผลประโยชน์แห่งชาติที่ต้องปกป้อง (2)
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมพาณิชย์นาวีควรเป็นวาระแห่งชาติ มูลค่า 8.43 แสนล้านบาท และรายได้ค่าภาษีศุลกากรต่อธุรกิจประมาณ 1.09 แสนล้านบาท จำเป็นจะต้องมีการส่งเสริมให้มีการขนส่งชายฝั่งมากขึ้น ซึ่งจะเป็นการลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ของประเทศ 3. รัฐควรศึกษาการขุดคลองไทยให้มีความชัดเจน ทั้งด้านผลประโยชน์ของชาติและความเสี่ยงจากผลกระทบที่จะตามมา คลองไทยถูกประเทศจีนบรรจุอยู่ในแผนยุทธศาสตร์ระเบียงเศรษฐกิจเส้นทางสายไหมใหม่ (MARITIME SILK ROUTE) จำเป็นที่ภาครัฐควรมีการศึกษาถึงผลประโยชน์และความเสี่ยงของชาติเพื่อให้ประชาชนประเทศได้รับรู้ข้อมูลทั้งด้านบวกและด้านลบ 4. บทบาทของ ศรชล.ต้องมีความชัดเจน จำเป็นที่จะเร่งให้มีการออกเป็นกฎหมายลูกเพื่อให้หน่วยงานรัฐต่างๆจากเกือบ 10 กระทรวงสามารถทำงานได้อย่างเป็นเอกภาพ โดยเฉพาะด้านอัตรากำลังคนที่จะทำงานในสำนักงานศรชล.รวมถึงอุปกรณ์และงบประมาณที่พอเพียง 5.

13 สามารถสแกนด้วยมือถือ สามารถดาวน์โหลด QR CODE ทั้งบทความและ Power Point
หากจะคัดลอกบทความนี้หรือนำบางส่วนไปใช้ในงานต่างๆโปรดอ้างอิงชื่อผู้เขียนบทความสามารถ Download Power Point ได้ที่ และสามารถติดตามรายงาน-บทความวิชาการอื่นๆ ได้ที่ช่องทาง / Facebook : tanit.sorat

14


ดาวน์โหลด ppt โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการบริษัทในเครือ วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google