งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง 1. ตำบล Long Term Care ในชุมชนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 ของตำบล ที่เข้าร่วมโครงการ 2. ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการผ่านเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 70
สถานการณ์ ผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2559 ร้อยละ 15.88 (265,631 คน) สถานการณ์ ผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2559 ร้อยละ 15.88 (265,631 คน)
ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ Care Manager, Care Giver LTC ADL , Geratric Syndrome ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ Care Manager, Care Giver Care Plan Home Health Care ทันตสุขภาพชุมชน
องค์ประกอบการดำเนินงาน โครงการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง Care Manager Care Plan Care Giver 3 C
อบรม Care Manager, Care Giver จัดทำ Care Plan ผู้สูงอายุพึ่งพิง 4 ขั้นตอน อบรม Care Manager, Care Giver จัดทำ Care Plan ผู้สูงอายุพึ่งพิง เสนอ Care Plan ต่อคณะอนุกรรมการ ดูแลผู้สูงอายุโดย Care Giver และ FCT
ค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง 5,000 บาท/คน/ปี จ้างเหมา Care Giver 300 บาท/เดือน (3,600 บาท/ปี) ค่าวัสดุ ค่าตอบแทน FCT (นอกเวลา) 1,400 บาท/ปี
เสนอ Care Plan
เป้าหมายระยะ 6 ปี ตัวชี้วัด 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ตำบลเข้าร่วมโครงการผู้สูงอายุพึ่งพิง LTC ระยะยาว 30 98 146 196 209 ร้อยละ 14 47 71 96 100 ตำบลจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป 197 198 199 201 204 97 99 ตำบลจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับดีเยี่ยม 78 81 91 102 112 122 38 40 45 50 55 60
แผนการดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิงฯ ปี 2560 แผนการดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิงฯ ปี 2560 1. อบรม Care Manager รุ่นที่ 1 พย. 2559 รุ่นที่ 2 มค. 2560 2. อบรม Care Giver มค. 2560 3. จัดทำ Care Plan กพ. 2560 4. เสนอ Care Plan แก่คณะอนุกรรมการ 5. เยี่ยมผู้ป่วยตาม Care Plan มีค. 2560 6. อบรม กสค. 7. เบิก-จ่ายงบประมาณ มีค. 2560 เป็นต้นไป
ผลงานรายไตรมาส ปี 2560 ประเด็น Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. การคัดกรอง ADL / Geriatric Syndrom ร้อยละ 20 ร้อยละ 40 ร้อยละ 60 ร้อยละ 80 2.ชมรมผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ตำบลมีข้อมูลประเมินตนเองตามเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุ 1.ชมรมผ่านเกณฑ์ข้อมูลทั่วไป(ชมรม/สถานที่ตั้ง) ร้อยละ 80 2.ชมรมผ่านเกณฑ์กรรมการของชมรม/กฎกติการ้อยละ 80 1.ชมรมผ่านเกณฑ์การระดมทุนร้อยละ 70 2.ชมรมผ่านเกณฑ์กิจกรรมที่ชมรมดำเนินการร้อยละ 70 ชมรมผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 60 3.การดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุ ฯ 1.ข้อมูลประเมินตนเอง 2.มีแผนแก้ปัญหาที่ตกเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ข้อ1-4 และ 7 ร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ข้อ5-6 ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ครบ 8 ข้อร้อยละ 60
ผลงานรายไตรมาส ปี 2560 ประเด็น Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4. ระบบทันตสาธารณสุขในชมรมตำบล 1.มีข้อมูลการสำรวจสุขภาพฟันของผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 (มีฟันใช้งาน 20 ซี่ หรือ 4 คู่ สบ) 1.มีข้อมูลการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 2. มีการจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 1. ได้เข้าร่วมเรียนรู้ด้านสุขภาพช่องปาก 2.มีข้อมูลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุที่เป็นปัจจุบัน 1.มีข้อมูลการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ครั้งที่ 2 4.1.ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก/ผึกทักษะ/ใช้ฟลูออไรด์/ขูดขัดป้องกันปริทันต์อักเสบ ร้อยละ 20 ร้อยละ 40 ร้อยละ 60 ร้อยละ 80
ผลงานรายไตรมาส ปี 2560 ประเด็น Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5.ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงปี 2560 1.care manager ได้รับการอบรมครบทุกตำบลเป้าหมาย 1.care giver / กสค. ได้รับการอบรมครบทุกตำบลเป้าหมาย ( มค. 2560) 2. มี care plan ผู้สูงอายุในตำบลเป้าหมายร้อยละ 100 (กพ. 2560) 3. เสนอ Care Plan ต่อคณะอนุกรรมการ (กพ. 2560) 4. ผู้สูงอายุพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม care plan ( มีค. 2560) 1.มีรายงานการประชุม case conference ในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ทุก 3 เดือน มีการเบิกจ่าย งบประมาณในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงร้อยละ100
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 6.การให้บริการคลินิกผู้สูงอายุ ใน รพ.ผ่านเกณฑ์หน่วยบริการผู้สูงอายุ 1. มีข้อมูลการประเมินตนเองของโรงพยาบาลตามเกณฑ์ 2. มีแผนการพัฒนา 3.มีคณะทำงาน 4. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนร้อยละ100 5. มีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมร้อยละ100 คลินิกผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ ข้อ 3, 4, 5, 6 ,7, 8, 9 และ10 คลินิกผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ ข้อ ผ่านเกณฑ์ 11 คลินิกผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ ทุกข้อ ร้อยละ 60 7. การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพโดยใช้ค่ากลาง ในตำบล LTC ตำบลมีข้อมูลสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และมีแผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา 1. อสค. ได้รับการอบรมการดูแลผู้ป่วย ( on the job training ) 2. ผู้ป่วยไตวายระยะที่ 4 ได้รับการดูแลโดย อสค. 3. มีการนำค่ากลางมาใช้ในการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพเพื่อดูแลผู้สูงอายุ 1. อสม.นักจัดการสุขภาพ และ อสค. ได้รับการประเมินศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะที่ 4 2. ตำบลมีการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน และโรงเรียน อสม. ตำบลจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก ร้อยละ 60
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 053 211048-50 ต่อ 124 ศรีเกษ ธัญญาวินิชกุล 081 5302591 คณิตา กาวงศ์ 081 9734475 อารีรัศมิ์ แสนจิตต์ 089 9529029 นฤมล วิสุทธิธนานนท์ 088 2609468