งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
การประเมินสภาวะของผู้สูงอายุ เพื่อการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวกับแนวทางปฏิบัติ อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี

2 สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน ไทย และโลก
หน่วย: เปอร์เซ็นต์ ผลการประมาณการโดย UN ระบุว่าประเทศ ไทยมีอัตราผู้สูงอายุสูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลก ในช่วงตั้งแต่ปี ค.ศ เป็นต้นมา ที่มา: Population Division of the Department of Economic and Social Affairs of the United Nations Secretariat, World Population Prospects: the 2010 Revision,

3 อายุเฉลี่ยของหญิงไทย 78.4 ปี ชายไทย 71.6 ปี
อายุเฉลี่ยของหญิงไทย 78.4 ปี ชายไทย 71.6 ปี กระทรวงสาธารณสุข 2559 ได้สำรวจผู้สูงอายุไทย60ปีขึ้นไป 6,394,022 คน พบว่า 5ล้านคน (79%) - ผู้สูงอายุติดสังคม 1.3 ล้านคน (21% ) - ผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียง ผู้สูงอายุติดสังคม : ติดบ้านและติดเตียง = 5:1 พญ.ทัศนีย์ เอกวานิช ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) 15 กพ. 2560

4 ประเด็นท้าทายของสว. ใน ASEAN
การดูแลด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและการคุ้มครองจากสังคม การสนับสนุนจากสังคม การดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ข้อจำกัดด้านการเงิน Rodora Turalde-Babaran Director, Human Development ASEAN Secretariant พญ.ทัศนีย์ เอกวานิช ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) 15 กพ. 2560

5 (คู่มือระบบการดูแลระยะยาวฯ,2559)

6

7

8

9 ทางเลือกการออกแบบระบบ LTC
ใช้รพ.เป็นฐาน มีศักยภาพ ความพร้อมในการจัดการและบริการด้านการแพทย์ ไม่ครอบคลุมสิทธิประโยชน์บริการด้านสังคม การบูรณาการกับงานอื่นและหน่วยงานอื่นมีข้อจำกัด ภาระทางการเงินสูงมาก (๔๐๐ บาทx๓๖๕ วัน = ๑๔๖,๐๐๐ บาท/คน/ปี) ใช้ชุมชนเป็นฐาน มีกองทุน matching fund ของ อปท.กับ สปสช.ทุกตำบลทั่วประเทศ ประสบการณ์ ๘ ปี บูรณาการได้ทั้งบริการด้านการแพทย์และด้านสังคม แนวโน้ม อปท.มีบทบาทและงบประมาณเพิ่มมากขึ้น ภาระทางการเงินไม่สูง (๑๖,๐๐๐ บาท/คน/ปี) 9เท่า สรุป ใช้ ชุมชนเป็นฐานเป็นหลัก ภายใต้การสนับสนุนทางวิชาการและบริการจากรพ.

10 หลักสำคัญในการออกแบบระบบ
๑. เน้นบูรณาการด้านบริการสาธารณสุขและ บริการด้านสังคมในระดับพื้นที่ (ตำบล/ หมู่บ้าน/ครอบครัว) ๒. คำนึงถึงความยั่งยืนและเป็นไปได้ของ งบประมาณระยะยาวในอนาคต ๓. สนับสนุนให้ อปท. (เทศบาล/อบต.) เป็น เจ้าภาพหลักในการบริหารระบบ ผ่านทาง ระบบการบริหารของกองทุนหลักประกัน สุขภาพ อปท.ภายใต้การสนับสนุนของ เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่

11 หลักสำคัญในการออกแบบระบบ
๔. พัฒนาและขยายระบบบริการ LTC โดยมี ผู้จัดการ Care Manager (พยาบาล หรือ นักกายภาพบำบัด หรือนักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ) และผู้ช่วยเหลือดูแล Caregiver ที่ผ่าน การฝึกอบรมและขึ้นทะเบียนดูแลผู้สูงอายุที่มี ภาวะพึ่งพิงเชิงรุกในพื้นที่ ๑ : ๕-๑๐ คน โดยได้รับค่าตอบแทนจากกองทุนหลักประกัน สุขภาพ อปท. ที่มีอยู่แล้วภายใต้การบริหาร ของคณะกรรมการบริหารกองทุน

12

13

14 ประเมินความต้องการชุดบริการที่จำเป็น ความต้องการในการดูแลทางการแพทย์
การตรวจรักษาเพิ่มเติมจากแพทย์หรือพยาบาล การบริการดูแลที่บ้าน/ชุมชน การจัดการสภาพแวดล้อม/บ้าน การได้รับเครื่องมือหรืออุปกรณ์ช่วยที่จำเป็น การส่งปรึกษาสหวิชาชีพด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ

15 ประเมินความต้องการชุดบริการที่จำเป็น ความต้องการในการดูแลทางสังคม
ผู้ดูแล รูปแบบบริการที่บ้าน บริการในชุมชน การปรับสภาพแวดล้อม ปรับสภาพบ้าน การหารายได้ ความมั่นคงในครอบครัว ตัวอย่างแบบประเมิน

16 กรอบการบริหารค่าบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงปี 2560
(จำนวน 900 ล้านบาท) POP (ผสอ.สิทธิ์ UC) = 150,000 คน 150 ลบ. (on top) บริการ LTC ในหน่วยบริการ พม. มหาดไทย สสส. สช. สวรส. เอกชน ซื้อบริการ 750 ลบ. กองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท. สปสช. หน่วยบริการประจำ สนับสนุนบริการ LTC ในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาคูณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(LTC center ) บริการเชิงรุกที่ศูนย์ฯ Care manager Caregiver บริการเชิงรุก ที่บ้าน บริการเชิงรุกที่บ้าน ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

17 CGให้บริการตามcare plan
LTC สปสช. เขต เปิดรับสมัครกองทุนตำบล จับคู่กับ หน่วยจัดบริการ พื้นที่ สำรวจ คัดกรอง ผู้สูงอายุ 60ปีข็นไป สิทธิ์บัตรทอง จำแนก4กลุ่ม เลข13หลัก กองทุนตำบลแต่งตั้งอนุLTC เปิดสมุดบัญชี พื้นที่แจ้ง สปสช.เขต สปสช. เขต ตรวจสอบข้อมูล สปสช.เขตส่ง สปสช.ส่วนกลาง สปสช.ส่วนกลางโอน1แสนให้หน่วยบริการประจำ โอน5,000 X ผสอ.ให้กองทุนตำบล กรมอนามัยอบรมCM CG อนุLTC อนุมัติ care plan ส่งcare plan ผ่าน3ช่องทาง 1หน่วยบริการ 2.สถานบริการ 3. ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน อนุLTCโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ หน่วยจัดบริการจ้างเหมา CG CGให้บริการตามcare plan CM กำกับ สปสช.เขต & ส่วนกลาง กำกับติดตาม ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงให้ได้รับบริการตามcare plan

18 หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการจัดสรรงบปี 60 กรอบการบริหารค่าใช้จ่าย
ขอบเขตการดำเนินงาน 1. จำนวน 150 ล้านบาท - จ่ายแบบเหมาจ่ายให้หน่วยบริการประจำในพื้นที่ (ยกเว้น พท.สปสช.เขต 13 กทม.) ที่เข้าร่วมดำเนินการบูรณาการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนและบริการสุขภาพชุมชน เฉลี่ยแห่งละ 100,000 บาท - สามารถปรับจ่ายแบบขั้นบันไดตามจำนวนเป้าหมายได้ตามหลักเกณฑ์ที่สปสช.กำหนด 1.1 จัดทีมหมอครอบครัวร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการคัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงตามแบบประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตาม ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) เพื่อแบ่งผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงออกเป็น 4 กลุ่มและประเมินความต้องการการบริการด้านสาธารณสุข (ชุดสิทธิประโยชน์และอัตราค่าชดเชยค่าบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง) Care Plan) เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ต่อไป 1.2 จัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ ตามแนบท้ายประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2559

19 หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการจัดสรรงบปี 60 กรอบการบริหารค่าใช้จ่าย
ขอบเขตการดำเนินงาน 2. จำนวน 725 ล้านบาท จ่ายแบบเหมาจ่ายให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่เข้าร่วมดำเนินการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ในอัตรา 5,000 บาทต่อคนต่อปี เป็นค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่เกี่ยวข้อง 3. จำนวน 25 ล้านบาท จัดสรรสำหรับ สปสช.เขต 13กทม.เพื่อ สนับสนุนกรุงเทพมหานครในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่มีภาวะพึ่งพิง ตามหลักเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนดร่วมกับกรุงเทพมหานคร โดยคำนึงถึงความเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ เป็นค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ตามหลักเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนดร่วมกับกรุงเทพมหานคร โดยคำนึงถึงความเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ

20 การพัฒนาศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนสู่ระบบบริการLTC

21 การบริหารงบ LTC กรณีผสอ.กลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลง
( ย้ายออกจากพท./สูญหาย/ตาย ) ก่อนคณะอนุ LTC อนุมัติ CP หลังคณะอนุ LTC อนุมัติ CP สปสช.ส่วนกลาง ยังไม่โอนงบให้อปท. โอนงบให้อปท.แล้ว หน่วยบริการ แจ้งcase ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปที่ สปสช.เขต เพื่อตรวจสอบสิทธิ์ และความถูกต้อง สปสช.เขต และ แจ้งส่วนกลางเพื่อปรับจำนวนเป้าหมาย และโอนงบประมาณตามเป้าหมายใหม่ให้กับ อปท. หน่วยบริการ หา case ใหม่ทดแทนรายเดิมที่มีการ เปลี่ยนแปลง หน่วยบริการแจ้งcase ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปที่ สปสช.เขต เพื่อตรวจสอบสิทธิ์ และความถูกต้อง และแจ้งกลับหน่วยบริการ หน่วยบริการจัดทำ CP สำหรับ case ใหม่เพื่อเสนอคณะอนุ LTC พิจารณา -หน่วยบริการจัดทำ CP สำหรับ case ใหม่เพื่อเสนอคณะอนุ LTC พิจารณา - กรณีหา case ใหม่มาทดแทนไม่ต้องส่งเงินส่วนนั้นคืนกองทุนหลักประกันสุขภาพ เนื่องจากเป็นการจ่ายแบบเหมาจ่าย

22 ชุดบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ งบประมาณอื่นๆ
กิจกรรม งบการดูแลแบบประคับประคอง บริการแบบองค์รวม เผชิญการตายอย่างมีศักดิ์ศรีในมิติของแต่ละความเชื่อ งบ PP ทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์ งบฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ สนับสนุนอุปกรณ์เครื่องช่วยเพื่อการฟื้นฟู งบบริการแพทย์แผนไทย บริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสภาพ

23 ชุดบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่
การประเมิน วางแผนการรักษาและดูแลทางการแพทย์ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ ให้คำปรึกษา ทำ care conference ค่าใช้จ่าย ค่าเดินทาง ค่าเบี้ยเลี้ยงของเจ้าหน้าที่ ในการเยี่ยมดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน

24 ชุดบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่
การดูแลทางการพยาบาล การดูแลด้านเภสัชกรรม การฟื้นฟูสมรรถภาพ การดูแลด้านสุขภาพจิต การดูแลด้านสุขภาพช่องปาก การดูแลด้านโภชนาการ การดูแลด้านการแพทย์แผนไทย/ทางเลือก

25 ชุดบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ งบ 100 ล้านบาท
การประเมิน วางแผนการรักษาและดูแลทางการแพทย์ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ ให้คำปรึกษา ทำ care conference ค่าใช้จ่าย ค่าเดินทาง ค่าเบี้ยเลี้ยงของเจ้าหน้าที่ ในการเยี่ยมดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน

26 สิทธิประโยชน์และอัตราที่กำหนดในเอกสารแนบท้าย
๑.ประเภทของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง จำแนกออกเป็น ๔ ประเภท กลุ่มที่ ๑ เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสนทางสมอง กลุ่มที่ ๒ เหมือนกลุ่มที่ ๑ แต่มีภาวะสับสนทางสมอง กลุ่มที่ ๓ เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง กลุ่มที่ ๔ เหมือนกลุ่มที่ ๓ และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง หรืออยู่ในระยะท้ายของชีวิต ประกาศคณะกรรมการหลัก

27 สิทธิประโยชน์และอัตราที่กำหนดในเอกสารแนบท้าย
๓.อัตราชดเชยค่าบริการ (เหมาจ่าย/ราย/ปี) กลุ่มที่ ๑ เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสนทางสมอง กลุ่มที่ ๒ เหมือนกลุ่มที่ ๑ แต่มีภาวะสับสนทางสมอง กลุ่มที่ ๓ เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง กลุ่มที่ ๔ เหมือนกลุ่มที่ ๓ และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง หรืออยู่ในระยะท้ายของชีวิต ไม่เกิน ๔,๐๐๐ บาท/คน/ปี ๓,๐๐๐ – ๖,๐๐๐ บาท/คน/ปี ๔,๐๐๐ – ๘,๐๐๐ บาท/คน/ปี ๕,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ ๔.สนับสนุนแก่หน่วยจัดบริการ แบบเหมาจ่าย/ ราย/ปี ประกาศคณะกรรมการหลัก

28 กลุ่มที่ 1 ไม่เกิน 4,000 บาท/คน/ปี กลุ่มที่ 2 3,000 – 6,000 บาท/คน/ปี
อัตราการชดเชยค่าบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (เหมาจ่าย/ ราย/ปี) กลุ่มที่ ไม่เกิน 4,000 บาท/คน/ปี กลุ่มที่ ,000 – 6,000 บาท/คน/ปี กลุ่มที่ ,000 – 8,000 บาท/คน/ปี กลุ่มที่ ,000 –10,000 บาท/คน/ปี

29 การแบ่งประเภทผู้สูงอายุตามเกณฑ์ สปสช. ADLและ TAI
เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง เดือนละ 1 ครั้ง (4, บาท /คน/ปี ) 40 นาที กลุ่ม 4 ติดเตียง (I1,I2) เคลื่อนไหวเองไม่ได้ มีปัญหาการรับประทานอาหาร เดือนละ ๒ ครั้ง นาที (5, ,000 บาท) กลุ่ม 1 ติดบ้าน (B3,B4,B5) เคลื่อนไหวเองได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสน เดือนละ 1 ครั้ง ( ไม่เกิน4000 บาท/คน/ปี ) 40 mins กลุ่ม 2 ติดบ้าน (C2,C3,C4) เคลื่อนไหวเองได้ บ้าง และอาจมี ปัญหาการกินหรือ การขับถ่าย มีภาวะ สับสน เดือนละ 1 ครั้ง (60 นาที (3, บาท / คน/ปี )

30 เคลื่อนไหวเองได้บ้าง
กลุ่ม 1 ติดบ้าน เคลื่อนไหวเองได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสน เดือนละ 1 ครั้ง ( ไม่เกิน4000 บาท/คน/ปี ) 40 mins (B3,B4,B5) สิ่งสำคัญในการดูแลกลุ่ม 1 ระยะเริ่มแรกที่ต้องได้รับการดูแลอย่างแท้จริงดูแลการขับถ่าย หรือ การทานอาหาร สังคมจิตใจ ความเหงา มนุษยสัมพันธ์ กิจกรรมในสังคม ทักทายให้กำลังใจ การเปลี่ยนแปลงที่ นำไปสู่ความเสื่อมด้านร่างกาย จิตใจ ป้องกันการลดระดับ ADL ฝึกฝนให้ฟื้นสมรรถภาพ การเข้าห้องน้ำด้วยตนเอง สนับสนุนให้ทำอะไรด้วยตนเอง สร้างสภาพแวดล้อมให้พึ่งตนเอง ลดอันตราย ลื่นหกล้ม ระวังภาวะสมองเสื่อม

31 กลุ่ม 2 ติดบ้าน เคลื่อนไหวเองได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกินหรือ การขับถ่าย มีภาวะสับสน เดือนละ 1 ครั้ง (60 นาที (3, บาท /คน/ปี ) (C2,C3,C4) สิ่งสำคัญในการดูแลกลุ่ม 2 ช่วยเหลือการกินและขับถ่าย ระวังขาดอาหาร และน้ำ สังคมจิตใจ ความเหงา มนุษยสัมพันธ์ กิจกรรมในสังคม อารมณ์รุนแรงสร้างความเดือดร้อนกับคนรอบข้าง การเปลี่ยนแปลงที่ นำไปสู่ความเสื่อมด้านร่างกาย จิตใจ ป้องกันการลดระดับ ADL สร้างสภาพแวดล้อมให้พึ่งตนเอง ลดอันตราย ลื่นหกล้ม ระวังภาวะสมองเสื่อม ป้องกันพฤติกรรมที่เป็นปัญหา หลงทาง เดินไปมาไม่อยู่นิ่ง กินสิ่งแปลกปลอม ใจลอยทั้งวัน มีปัญหากันรอบข้าง อารมณ์รุนแรง ร้องเสียงดัง ปฏิเสธการกิน ไม่สะอาด การใช้ยาในบางราย ภาวะ delirium

32 กลุ่ม 3 ติดเตียง เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง เดือนละ 1 ครั้ง (4, บาท /คน/ปี ) 40 นาที (I3) สังคมจิตใจ ความเหงา มนุษยสัมพันธ์ กิจกรรมใน สังคม การเปลี่ยนแปลงที่ นำไปสู่ความเสื่อมด้านร่างกาย จิตใจ ป้องกันการลดระดับ ADL ระวังภาวะสมองเสื่อม ป้องกันพฤติกรรมที่เป็นปัญหา สิ่งสำคัญในการดูแลกลุ่ม 3 ไม่สามารถเดินได้ ขับถ่ายในกระโถนได้นอนตลอดเวลา นอกจากทานอาหาร ป้องกันกลุ่มอาการของโรคที่อวัยวะไม่ได้ใช้งาน (กระดูกเปราะ กล้ามเนื้อเสื่อม ข้อกระดูกแข็ง ซึมเศร้า สมองเสื่อม แผลกดทับ อาการเวียนศีรษะ ท้องผูก) ยกตัว นั่งรถเข็น กายภาพบำบัด

33 กลุ่ม 4 ติดเตียง เคลื่อนไหวเองไม่ได้ มีปัญหาการรับประทานอาหาร เดือนละ ๒ ครั้ง 60 นาที (5, ,000 บาท) (I1,I2) สังคมจิตใจ ความเหงา มนุษยสัมพันธ์ กิจกรรมในสังคม การเปลี่ยนแปลงที่ นำไปสู่ความเสื่อมด้านร่างกาย จิตใจ ป้องกันการลดระดับ ADL ระวังภาวะสมองเสื่อม ป้องกันพฤติกรรมที่เป็นปัญหา ป้องกันกลุ่มอาการของโรคที่อวัยวะไม่ได้ใช้งาน ยกตัว นั่งรถเข็น กายภาพบำบัด กระตุ้นจิตใจ ปลุกให้ลุกนั่ง คอยพูดคุย ป้องกันการขาดอาหาร สิ่งสำคัญในการดูแลกลุ่ม 4 ไม่สามารถเดินได้ ต้องช่วยเหลือการทานอาหาร ใช้ผ้าอ้อม การอาบน้ำ การขาดอาหาร ขาดแรงกระตุ้นด้านจิตใจ ใจลอย

34 กลุ่ม 4 ติดเตียง ระยะท้ายของชีวิต (10,000 บาท) 80 นาที
กลุ่ม 4 ติดเตียง ระยะท้ายของชีวิต (10,000 บาท) นาที สังคมจิตใจ ความเหงา มนุษยสัมพันธ์ กิจกรรมในสังคม การเปลี่ยนแปลงที่ นำไปสู่ความเสื่อมด้านร่างกาย จิตใจ ป้องกันการลดระดับ ADL ระวังภาวะสมองเสื่อม ป้องกันพฤติกรรมที่เป็นปัญหา ป้องกันกลุ่มอาการของโรคที่อวัยวะไม่ได้ใช้งาน ยกตัว นั่งรถเข็น กายภาพบำบัด ป้องกันการขาดอาหาร ขาดน้ำ กระตุ้นจิตใจ ปลุกให้ลุกนั่ง คอยพูดคุย สิ่งสำคัญในการดูแลกลุ่ม 4 มีปัญหาการกลืน ปฏิเสธอาหาร นอนตลอดเวลาข้อติด แผลกดทับ ท้องผูก

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46 ตัวอย่างแบบฟอร์มการจัดทำข้อเสนอต่อคณะอนุ LTC เพื่อพิจารณาการสนับสนุนค่าบริการ LTC

47 ตัวอย่างแบบฟอร์มต่างๆ

48

49

50

51

52

53

54

55


ดาวน์โหลด ppt อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google