A.Petcharee Sirikijjakajorn

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
Advertisements

ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ สิ้นเดือนมกราคม 2556 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - 30 เมษายน 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร 02.
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 29 กุมภาพันธ์ 2551.
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 29 กุมภาพันธ์ 2551.
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 30 พฤศจิกายน 2550.
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - 31 สิงหาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร 02.
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Lesson 10 Controlling.
Lesson 11 Price.
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - 30 มิถุนายน 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร 02.
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122, 2128
Financial Management.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
เปรียบเทียบดัชนีชี้วัด ปีงบประมาณ
สรุปภาวะตลาดหลักทรัพย์ เดือน กุมภาพันธ์ มีนาคม 2559.
INVESTMENTS Chapter 6 (2) Understanding the Business A company may invest in the securities of another company to: Earn a return on idle funds.
การศึกษาการพยากรณ์ ความต้องการและนโยบาย การจัดการสินค้าคงคลัง กรณีศึกษา บริษัท ABC นิศาชล ไทรชมภู
1 9/25/ ชื่อโครงการ 3 9/25/2016 รายละเอียดผู้ลงทุน ชื่อ : บริษัท คิดแล้วรวย จำกัด ผู้เสนอโครงการ : คุณนวัตกร สุดยอด ( กรรมการบริษัท ) ที่อยู่
© The McGraw-Hill Companies, Inc., 2003 McGraw-Hill/Irwin Slide 2-1 งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS ) Chapter 3.
Business Expansion using Debt: Wade’s Office furniture
Financial Planning and Forecasting
Managerial Accounting for Management
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS )
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
บทที่ 10 การออกแบบรายงาน Output Design
หลักการและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
การบัญชีเกี่ยวกับส่วนของผู้เป็นเจ้าของ(Accounting of Owners’ Equity)
บทที่ 12 การระดมเงินทุนจากตลาดหลักทรัพย์ระหว่างประเทศ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
การวิเคราะห์งบการเงิน
การวิเคราะห์งบการเงิน
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งบการเงิน 1. ฝ่ายบริหาร 2. ผู้ลงทุน
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
บัญชีเบื้องต้น 1 (Basis Accounting I)
บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
การพัฒนางานเภสัชกรรม
กลุ่มที่ 4 ต้นแบบระบบสารสนเทศ ด้านการคลังเพื่อการบริหารจัดการ.
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
การเปิดรับความเสี่ยงจากธุรกรรมการค้า (Transaction Exposure)
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
ระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ ของ
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
เอกสารประกอบคำบรรยาย เรื่อง
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เนื้อหา บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ
Competitive advantage Team Financial
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์งบการเงิน
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
บทที่ 1 กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน
สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
บรรยายสรุป ประมวลความรู้วิชาการจัดการการเงิน Advanced Program อ. ดร
บทที่ 2 การจัดการเงินทุนขั้นแรกของธุรกิจขนาดย่อม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

A.Petcharee Sirikijjakajorn Financial Analysis A.Petcharee Sirikijjakajorn

การวิเคราะห์ทางการเงิน ใช้ข้อมูลที่ได้จากงบการเงิน ต้องกำหนดว่า จะวิเคราะห์อะไร (What) วิเคราะห์อย่างไร (How) วิเคราะห์เมื่อไร (When) วิเคราะห์ถี่แค่ไหน ใช้เครื่องมือใดในการวิเคราะห์ ขึ้นอยู่กับ “ผู้วิเคราะห์” A.Petcharee Sirikijjakajorn

การวิเคราะห์ทางการเงินของผู้บริหาร 1. เพื่อการวางแผนและพยากรณ์ทางการเงิน 2. ช่วยในการตัดสินใจทางการเงินได้ดีขึ้น การลงทุน การจัดหาเงินทุน 3. เพื่อควบคุมตรวจสอบและประเมินการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ A.Petcharee Sirikijjakajorn

ขั้นตอนในการวิเคราะห์ทางการเงิน 1. กำหนดจุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์ 2. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องและจำเป็นต้องใช้ 3. เลือกเครื่องมือที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ 4. ตีความและแปลความหมาย 5. จัดทำรายงานเพื่อนำเสนอ A.Petcharee Sirikijjakajorn

A.Petcharee Sirikijjakajorn การเปรียบเทียบ 1. เปรียบเทียบกับข้อมูลในอดีตของตัวกิจการเอง(Past Data) 2. เปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน (Competitors) หรือบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน 3. เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน หรือ ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม (Standard or Industry Average) A.Petcharee Sirikijjakajorn

ขั้นตอนในการวิเคราะห์ทางการเงิน กำหนดจุดมุ่งหมาย รวบรวมข้อมูล เลือกเครื่องมือ การตีความ (ใช้การเปรียบเทียบ) เปรียบเทียบกับตนเองในอดีต เปรียบเทียบกับคนอื่น คู่แข่งขัน ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม รายงานการวิเคราะห์ A.Petcharee Sirikijjakajorn

ข้อจำกัดในการวิเคราะห์งบการเงิน 1. ความแตกต่างของนโยบายบัญชีที่ใช้จัดทำ งบการเงิน 2. ไม่ได้คำนึงถึงค่าของเงินตามเวลา 3. ไม่ได้สะท้อนถึงความเสี่ยงที่สูงขึ้นของกิจการ ,ความสามารถของผู้บริหารและภาระผูกพันจากสัญญาต่างๆ A.Petcharee Sirikijjakajorn

ข้อจำกัดในการวิเคราะห์งบการเงิน (ต่อ) 4. งบดุลแสดงฐานะการเงิน ณ วันใดวันหนึ่งเท่านั้น แต่ก่อนหน้านั้น หรือหลังจากนั้นจำนวนสินทรัพย์ หนี้สิน และทุนจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 5. ต้องระมัดระวังเรื่องการตกแต่งตัวเลขในทางบัญชี (Window Dressing) A.Petcharee Sirikijjakajorn

เครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงิน 1. อ่านข้อมูลจากงบการเงินโดยตรง 2. วิเคราะห์โดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน 3. วิเคราะห์โดยจัดทำแนวโน้ม (ไม่ออกสอบ) 4. วิเคราะห์โดยการย่อขนาด (Common Size) A.Petcharee Sirikijjakajorn

การวิเคราะห์งบการเงิน การวิเคราะห์ย่อขนาด (Common-Size) การวิเคราะห์อัตราส่วน (Ratio Analysis) A.Petcharee Sirikijjakajorn

Common-size Statement แสดงรายการบัญชีแต่ละรายการในงบดุลในรูปร้อยละของสินทรัพย์รวม แสดงรายการบัญชีแต่ละรายการในงบกำไรขาดทุนในรูปร้อยละของยอดขาย ข้อดี : ง่ายต่อการอ่านและเปรียบเทียบ A.Petcharee Sirikijjakajorn

ตัวอย่างการคิด Common Size งบดุล: สินทรัพย์รวม = 4,200 เงินสด = 2,100 Common Size เงินสด = 2,100 = 0.5 หรือ 50% 4,200 งบกำไรขาดทุน: ยอดขายรวม = 10,000 ดอกเบี้ยจ่าย = 600 Common Size ดอกเบี้ยจ่าย = 600=0.06 หรือ 6% 10,000 A.Petcharee Sirikijjakajorn

การวิเคราะห์โดยใช้อัตราส่วน เปรียบเทียบรายการบัญชีหนึ่งกับรายการบัญชีอื่นที่มีความสัมพันธ์กัน ผลลัพธ์เป็นร้อยละ, เท่า หรือ รอบ, ระยะเวลา วัดสภาพคล่อง ภาระหนี้สิน การบริหารสินทรัพย์ กำไร และมูลค่าตลาด A.Petcharee Sirikijjakajorn

1. อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) วัดความสามารถในการแปลงสินทรัพย์หมุนเวียนเป็นเงินสดเพื่อชำระหนี้สินหมุนเวียน เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์หมุนเวียน และหนี้สินหมุนเวียนเป็นหลัก สภาพคล่อง อาจเกิดจากสินทรัพย์ หรือเกิดจากความสามารถในการกู้ยืม A.Petcharee Sirikijjakajorn

1. อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) ดังนั้น ถ้าขาดความสามารถในการกู้ยืม ก็อาจต้องรักษาสินทรัพย์หมุนเวียนไว้มาก แต่ถ้าหากมีความสามารถในการกู้ยืมดี ก็ไม่จำเป็นต้องดำรงสินทรัพย์หมุนเวียนไว้ในจำนวนสูง A.Petcharee Sirikijjakajorn

1.1 อัตราทุนหมุนเวียน (Current Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน หน่วยเป็นเท่า ปกติยิ่งมากยิ่งดี อย่างต่ำควรเท่ากับ 1 เท่า เพราะไม่งั้นเงินทุนหมุนเวียนสุทธิจะติดลบ แต่สภาพคล่องที่มากเกินพอ หมายถึง เงินลงทุนไปจมอยู่กับสินทรัพย์หมุนเวียนมากไป A.Petcharee Sirikijjakajorn

1.1 อัตราทุนหมุนเวียน (Current Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน ปี 2544 = 230,000 / 200,000 = 1.15 เท่า ปี 2545 = 280,000 / 225,000 = 1. 24 เท่า ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 1. 5 เท่า A.Petcharee Sirikijjakajorn

1.2 อัตราทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) = (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงคลัง) / หนี้สินหมุนเวียน หน่วยเป็นเท่า เนื่องจากสินค้าคงคลังเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนที่มีสภาพคล่องต่ำสุด นอกจากนี้ยังเสื่อม ล้าสมัย หรือถูกทำลายได้ การมีสินค้าคงคลังมากไป แสดงว่าผลิตมากเกินไป ปกติยิ่งมากยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

1.2 อัตราทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) = (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงคลัง) / หนี้สินหมุนเวียน ปี 2544 = (230,000 – 80,000) / 200,000 = 0.75 เท่า ปี 2545 = (280,000 – 100,000) / 225,000 = 0.8 เท่า ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 1.2 เท่า A.Petcharee Sirikijjakajorn

2. อัตราส่วนการบริหารหนี้สิน (Leverage Ratio) วัดความสามารถในการชำระหนี้ของกิจการ บางที เรียกว่า Financial Leverage Ratio ถ้าเปรียบอัตราส่วนวัดสภาพคล่องเป็นการวัดความสามารถในการชำระหนี้ระยะสั้น อัตราส่วนการบริหารหนี้สินก็เป็นการวัดความสามารถในการชำระหนี้ระยะยาว A.Petcharee Sirikijjakajorn

2.1 อัตราส่วนหนี้สิน (Debt Ratio) = หนี้สินรวม / สินทรัพย์รวม หน่วยเป็น เท่า หรือ ร้อยละ ยิ่งสูงความเสี่ยงทางการเงินจะสูง ความสามารถในการหาเงินทุนจะต่ำ แสดงสัดส่วนหนี้สินในโครงสร้างเงินทุน เมื่อทราบสัดส่วนหนี้สิน ก็สามารถทราบสัดส่วนของเจ้าของได้ เพราะ สินทรัพย์รวม = หนี้สินรวม + ส่วนของเจ้าของรวม A.Petcharee Sirikijjakajorn

2.1 อัตราส่วนหนี้สิน (Debt Ratio) = หนี้สินรวม / สินทรัพย์รวม ปี 2544 = (500,000 / 950,000)*100 = 52.63 % ปี 2545 = (575,000 / 1,080,000)*100 = 53.24 % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 50.23 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

2.2 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของเจ้าของ (Debt to Equity Ratio) หน่วยเป็น เท่า หรือ ร้อยละ แสดงสัดส่วนของเจ้าของว่าเพียงพอชำระหนี้หรือไม่ ยิ่งสูง ความเสี่ยงทางการเงินยิ่งสูง โอกาสที่จะชำระหนี้คืนแก่เจ้าหนี้จะต่ำ A.Petcharee Sirikijjakajorn

2.2 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของเจ้าของ (Debt to Equity Ratio) ปี 2544 = (500,000 / 450,000)*100 = 111 % ปี 2545 = (575,000 / 505,000)*100 = 114 % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 97 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

2.3 อัตราส่วนกำไรต่อดอกเบี้ยจ่าย (Times Interested Earned) = กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี / ดอกเบี้ยจ่าย หน่วยเป็นเท่า วัดความสามารถในการนำกำไรจากการดำเนินงานมาชำระดอกเบี้ยจ่าย กำไรที่ได้มาเป็นกี่เท่าของดอกเบี้ยที่ต้องจ่าย ปกติยิ่งมากยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

2.3 อัตราส่วนกำไรต่อดอกเบี้ยจ่าย (Times Interested Earned) = EBIT / ดอกเบี้ยจ่าย ปี 2544 = 725,000 / 105,000 = 6.9 เท่า ปี 2545 = 963,000 / 112,000 = 8.6 เท่า ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 9.3 เท่า A.Petcharee Sirikijjakajorn

2.4 ความสามารถจ่ายภาระผูกพัน (Fixed Charge Coverage Ratio) = (EBIT + คชจ.ภาระผูกพัน) / คชจ.ภาระผูกพันก่อนภาษี หน่วยเป็นเท่า ภาระผูกพันตามข้อสัญญาต่างๆ เช่น ค่าเช่า ระยะยาว (Lease) ค่างวด (Installment) วัดว่าธุรกิจมีกำไรเพียงพอที่จะจ่ายค่าใช้จ่ายที่เกิดจากภาระผูกพันต่างๆได้ A.Petcharee Sirikijjakajorn

3. อัตราส่วนบริหารสินทรัพย์ (Asset Management Ratio) วัดความสามารถในการบริหารสินทรัพย์ของกิจการ เพื่อก่อให้เกิดการขาย สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์รวม ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของอัตราหมุนเวียน (Turnover) A.Petcharee Sirikijjakajorn

3.1 อัตราหมุนเวียนสินค้าคงคลัง (Inventory Turnover) = ต้นทุนขาย / สินค้าคงคลัง หน่วยเป็นเท่า หรือ รอบ แสดงให้เห็นว่ากิจการสามารถแปลงสินค้าคงคลังออกไปขายได้กี่ครั้ง ในรอบบัญชีหนึ่งๆ ยิ่งมาก ยิ่งดี เพราะสามารถเปลี่ยนสินค้าคงคลังเป็นเงินสดรับได้เร็ว หรือ มากครั้งในรอบบัญชีหนึ่งๆ A.Petcharee Sirikijjakajorn

3.1 อัตราหมุนเวียนสินค้าคงคลัง (Inventory Turnover) = ต้นทุนขาย / สินค้าคงคลัง ปี 2544 = 675,000 / 80,000 = 8.44 รอบ ปี 2545 = 817,000 / 100,000 =8.17 รอบ ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 9 รอบ A.Petcharee Sirikijjakajorn

3.2 ระยะเวลาขายสินค้าคงคลัง (Days’ Sales Inventory) = 360 / อัตราหมุนเวียนสินค้าคงคลัง หน่วยเป็นวัน แสดงให้เห็นว่ากิจการใช้เวลานานเท่าไหร่ในการแปลงสินค้าคงคลังออกไปขาย ยิ่งน้อย ยิ่งดี เพราะใช้เวลาน้อยวันในการเปลี่ยนสินค้าคงคลังออกไปขาย A.Petcharee Sirikijjakajorn

3.2 ระยะเวลาขายสินค้าคงคลัง (Days’ Sales Inventory) = 360 / อัตราหมุนเวียนสินค้าคงคลัง ปี 2544 = 360 / 8.44 รอบ = 43 วัน ปี 2545 = 360 / 8.17 รอบ = 45 วัน ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 35 วัน A.Petcharee Sirikijjakajorn

3.3 อัตราหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (A/R Turnover) = ยอดขายเชื่อ / ลูกหนี้การค้า หน่วยเป็นเท่า หรือ รอบ แสดงให้เห็นว่ากิจการสามารถเก็บเงินจากลูกหนี้ได้กี่ครั้งในรอบบัญชีหนึ่งๆ ยิ่งมาก ยิ่งดี เพราะสามารถเก็บเงินจากลูกหนี้ได้เร็ว หรือ มากครั้งในรอบบัญชีหนึ่งๆ A.Petcharee Sirikijjakajorn

3.3 อัตราหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (A/R Turnover) = ยอดขายเชื่อ / ลูกหนี้การค้า ปี 2544 = 1,500,000 / 100,000 = 15 รอบ ปี 2545 = 1,900,000 / 120,000 = 15.83 รอบ ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 18 รอบ A.Petcharee Sirikijjakajorn

= ลูกหนี้เฉลี่ย / ยอดขายเชื่อเฉลี่ยต่อวัน 3.4. ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (Days’ Sales Outstanding) : DSO = ลูกหนี้เฉลี่ย / ยอดขายเชื่อเฉลี่ยต่อวัน หน่วยเป็นวัน บางทีเรียกว่า Average Collection Period : ACP แสดงให้เห็นว่ากิจการใช้เวลานานเท่าไรในการเก็บเงินจากลูกหนี้การค้า ยิ่งน้อย ยิ่งดี แสดงว่า ใช้เวลาน้อยวันในการเก็บเงินจากลูกหนี้การค้า A.Petcharee Sirikijjakajorn

ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 20 วัน 3.4. ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (Days’ Sales Outstanding) : DSO = ลูกหนี้เฉลี่ย / ยอดขายเชื่อเฉลี่ยต่อวัน *** ปี 2544 = 100,000 / 1,500,000 / 360 = 24 วัน ปี 2545 = 120,000 / 1,900,000 / 360 = 23 วัน ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 20 วัน ***ยอดขายเฉลี่ยต่อวัน = ยอดขายทั้งปี / 360 วัน A.Petcharee Sirikijjakajorn

3.5 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed Assets Turnover) = ยอดขาย / สินทรัพย์ถาวร หน่วยเป็นเท่า หรือ รอบ แสดงให้เห็นว่าสำหรับเงินทุกบาทของการใช้สินทรัพย์ถาวร กิจการสามารถก่อให้เกิดยอดขายได้กี่เท่า ยิ่งมาก ยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

3.5 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed Assets Turnover) = ยอดขาย / สินทรัพย์ถาวร ปี 2544 = 1,500,000 / 720,000 = 2.08 รอบ ปี 2545 = 1,900,000 / 800,000 = 2.38 รอบ ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 3.4 รอบ A.Petcharee Sirikijjakajorn

3.6 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total Assets Turnover) = ยอดขาย / สินทรัพย์รวม หน่วยเป็นเท่า หรือ รอบ แสดงให้เห็นว่าสำหรับเงินทุกบาทของการใช้สินทรัพย์รวม กิจการสามารถก่อให้เกิดยอดขายได้กี่เท่า ยิ่งมาก ยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

3.6 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total Assets Turnover) = ยอดขาย / สินทรัพย์รวม ปี 2544 = 1,500,000 / 950,000 = 1.58 รอบ ปี 2545 = 1,900,000 / 1,080,000 = 1.76 รอบ ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 2 รอบ A.Petcharee Sirikijjakajorn

4. อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratio) แสดงความสามารถในการทำกำไรของกิจการ ที่เกิดจาก การใช้สินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปผลตอบแทน A.Petcharee Sirikijjakajorn

4.1 อัตราส่วนกำไรสุทธิ (Net Profit Margin) = (กำไรสุทธิ / ยอดขาย) * 100 หน่วยเป็นร้อยละ (%) แสดงให้เห็นว่าทุกบาทของยอดขายที่เกิดขึ้น ก่อให้เกิดกำไรสุทธิกี่บาท หรือ กี่เปอร์เซนต์ ยิ่งมากยิ่งดี แต่ถ้าเป็นกรณีลดราคาเพื่อขายเอาปริมาณ ต้องพิจารณาดูอีกที A.Petcharee Sirikijjakajorn

4.1 อัตราส่วนกำไรสุทธิ (Net Profit Margin) = (กำไรสุทธิ / ยอดขาย) * 100 ปี 2544 = (434,000 / 1,500,000)*100 = 28.93 % ปี 2545 = (598,000 / 1,900,000)*100 = 31.47 % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 35 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

4.2 อัตราผลตอบแทนจากกำไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) = (กำไรขั้นต้น / ยอดขาย) * 100 หน่วยเป็นร้อยละ (%) หาอัตราผลตอบแทนหลังจากหักต้นทุนการผลิต แสดงถึงโครงสร้างของต้นทุนต่อยอดขาย ยิ่งสูง ยิ่งดี แสดงถึงความสามารถในการหารายได้ และควบคุมต้นทุนการผลิตดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

4.2 อัตราผลตอบแทนจากกำไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) = (กำไรขั้นต้น / ยอดขาย) * 100 ปี 2544 = (825,000 / 1,500,000)*100 = 55 % ปี 2545 = (1,083,000 / 1,900,000)*100 = 57 % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 61 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

4.3 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on Assets : ROA) = (กำไรสุทธิ / สินทรัพย์รวม) * 100 หน่วยเป็นร้อยละ (%) แสดงให้เห็นว่าทุกบาทของสินทรัพย์ที่กิจการใช้ ก่อให้เกิดกำไรสุทธิกี่บาท หรือ กี่เปอร์เซนต์ ยิ่งมากยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

4.3 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on Assets : ROA) = (กำไรสุทธิ / สินทรัพย์รวม) * 100 ปี 2544 = (434,000 / 950,000)*100 = 45.68 % ปี 2545 = (598,000 / 1,080,000)*100 = 55.37 % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 58 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

4.4 อัตราผลตอบแทนส่วนของเจ้าของ (Return on Equity: ROE) = (กำไรสุทธิ / ส่วนของเจ้าของ) * 100 หน่วยเป็นร้อยละ (%) แสดงให้เห็นว่าทุกบาทของเงินทุนที่ผู้ถือหุ้นลงไป ก่อให้เกิดกำไรสุทธิกี่บาท หรือ กี่เปอร์เซนต์ ยิ่งมากยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

4.4 อัตราผลตอบแทนส่วนของเจ้าของ (Return on Equity: ROE) = (กำไรสุทธิ / ส่วนของเจ้าของ) * 100 ปี 2544 = (434,000 / 450,000)*100 = 96.44 % ปี 2545 = (598,000 / 505,000)*100 = 118.42 % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 120 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

5. อัตราส่วนมูลค่าตลาด (Market Value Ratio) นำข้อมูลที่ไม่ได้อยู่ในงบการเงินมาช่วยในการคิดคำนวณ ข้อมูลนั้น คือ ราคาตลาดต่อหุ้นของหุ้นสามัญ (Market price per share) ข้อมูลที่ปรากฏอยู่บนงบการเงิน คือ ข้อมูลทางบัญชี (Book value) A.Petcharee Sirikijjakajorn

5.1 กำไรต่อหุ้น (Earnings per Share) = (กำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ / จำนวนหุ้นสามัญ) หน่วยเป็นบาท วัดผลตอบแทนจากการลงทุนของผู้ถือหุ้นหลังจากหักดอกเบี้ย ภาษี เงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิ และสำรองกำไรสะสมแล้ว A.Petcharee Sirikijjakajorn

5.1 กำไรต่อหุ้น (Earnings per Share) EPS = (กำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ / จำนวนหุ้นสามัญ) ปี 2544 = 434,000 / 20,000 หุ้น = 21.7 บาท ปี 2545 = 598,000 / 20,000 หุ้น = 29.9 บาท A.Petcharee Sirikijjakajorn

5.2 เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (Dividend Per Share) = (เงินปันผลจ่าย / จำนวนหุ้นสามัญ) หน่วยเป็นบาท แสดงเงินปันผลที่กิจการจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญเป็นการตอบแทนการลงทุน A.Petcharee Sirikijjakajorn

5.2 เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (Dividend Per Share) DPS = (เงินปันผลจ่าย / จำนวนหุ้นสามัญ) ปี 2545 = 200,000 / 20,000 หุ้น = 10 บาท A.Petcharee Sirikijjakajorn

A.Petcharee Sirikijjakajorn 5.3 อัตราการจ่ายปันผล = ( DPS / EPS ) * 100 หน่วยเป็น % นโยบายจ่ายปันผล 40% EPS 10 บาท/หุ้น DPS=Do 4 บาท/หุ้น A.Petcharee Sirikijjakajorn

A.Petcharee Sirikijjakajorn 5.3 อัตราการจ่ายปันผล = ( DPS / EPS ) * 100 ปี 2545 = (10 / 29.9) * 100 = 33.45 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

5.4 อัตราส่วนราคาต่อกำไร Price-Earnings Ratio: P/E Ratio = (ราคาตลาดต่อหุ้น / กำไรต่อหุ้น) หน่วยเป็นเท่า ชี้ให้นักลงทุนเห็นว่าหุ้นสามัญของกิจการราคาถูก หรือ แพง และนักลงทุนยินดีจ่ายค่าหุ้นเท่าไร เปรียบเทียบกับกำไรที่ธุรกิจทำมาหาได้ A.Petcharee Sirikijjakajorn

5.4 อัตราส่วนราคาต่อกำไร (Price-Earnings Ratio: P/E Ratio) กรณี P/E สูงอาจแสดงว่ากิจการมีโอกาสโตได้อีก แต่ถ้ากิจการไม่มีกำไร P/E ก็สูงได้เช่นกัน จึงต้องระวังเวลาวิเคราะห์ ผู้ลงทุนมักลงทุนในหุ้นที่มีอัตราส่วนนี้ต่ำเมื่อเทียบกับหุ้นอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน ต่ำไป ไม่น่าสนใจ A.Petcharee Sirikijjakajorn

5.4 อัตราส่วนราคาต่อกำไร Price-Earnings Ratio: P/E Ratio = (ราคาตลาดต่อหุ้น / กำไรต่อหุ้น) ปี 2545 = 15 / 29.9 = 0.50 เท่า ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 0.8 เท่า A.Petcharee Sirikijjakajorn

5.5 ราคาตลาดต่อราคาตามบัญชี Market-to-Book Ratio = ราคาตลาดต่อหุ้น / มูลค่าบัญชีต่อหุ้น หน่วยเป็นเท่า มูลค่าบัญชีต่อหุ้น = ส่วนของเจ้าของ / จำนวนหุ้นสามัญ เปรียบเทียบราคาตลาดปัจจุบัน กับ ราคาที่ผู้ถือหุ้นของกิจการจ่ายไปเมื่อเริ่มต้นดำเนินกิจการ A.Petcharee Sirikijjakajorn

5.5 ราคาตลาดต่อราคาตามบัญชี Market-to-Book Ratio = ราคาตลาดต่อหุ้น / มูลค่าบัญชีต่อหุ้น ปี 2545 มูลค่าตามบัญชี = 505,000 / 20,000 = 25.25 บาท ราคาตลาดต่อราคาตามบัญชี = 15 / 25.25 = 0.60 เท่า A.Petcharee Sirikijjakajorn

ปัญหาของการวิเคราะห์งบการเงิน บริษัทหลายบริษัทไม่ได้ทำธุรกิจประเภทเดียว วิธีการดำเนินธุรกิจต่างกัน ปัญหาเรื่องนโยบายบัญชี บริษัทปิดรอบบัญชีไม่ตรงกัน กรณีกิจการมีการขายสินทรัพย์อาจมีผลต่อผลการดำเนินงานทางการเงินของกิจการ A.Petcharee Sirikijjakajorn

A.Petcharee Sirikijjakajorn

A.Petcharee Sirikijjakajorn