งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บรรยายสรุป ประมวลความรู้วิชาการจัดการการเงิน Advanced Program อ. ดร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บรรยายสรุป ประมวลความรู้วิชาการจัดการการเงิน Advanced Program อ. ดร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บรรยายสรุป ประมวลความรู้วิชาการจัดการการเงิน Advanced Program อ. ดร
บรรยายสรุป ประมวลความรู้วิชาการจัดการการเงิน Advanced Program อ.ดร. พรมนัส สิริธรังศรี

2 Statement of Financial Position
ASSETS Current Assets Fixed Assets Uses of Funds LIAB. & EQUITY Debt Equity: Common Stocks Retained Earnings Sources of Funds

3 ------------ Managing ------------
Statement of Financial Position Investing < Financing ASSETS Current Assets Fixed Assets Uses of Funds LIAB. & EQUITY Debt Equity: Com. Stocks Retained Earnings Sources of Funds  Managing 

4 Statement of Financial Position Financing
LIAB. & EQUITY Debt (I) > Interest Equity:  Dividend Com. Stocks (II) & Retained Earnings (III) Capital Gains Sources of Funds Managing

5 Statement of Financial Position Financing
LIAB. & EQUITY Debt (I) > Interest Equity:  Dividend Com. Stocks (II) & Retained Earnings (III) Capital Gains Sources of Funds : WACC & CAPITAL STRUCTURE Managing

6 Statement of Financial Position Investing
ASSETS Current Assets  Liquidity & Profitability Fixed Assets  Fixed Assets Turnover ------ Payback, DPB ------ NPV, IRR, MIRR Uses of Funds Managing

7 BALANCE SHEET Investing
ASSETS Current Assets  Liquidity & Profitability Fixed Assets  Fixed Assets Turnover ------ Payback, DPB ------ NPV, IRR, MIRR Uses of Funds: RISK & RATES OF RETURN Managing

8 ภาพรวมของการจัดการการเงิน
บทที่ 1 ภาพรวมของการจัดการการเงิน 1 - 1

9 1 - 5 Responsibility of the Financial Staff หน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายการเงิน Maximize stock value by: ทำให้มูลค่าหุ้นสูงสุด Forecasting and planning (การพยากรณ์และการวางแผน) Investment and financing decisions (การตัดสินใจลงทุนและ การจัดหาเงินทุน) Coordination and control (การประสานงานและการควบคุม) Transactions in the financial markets (การติดต่อกับตลาดการเงิน) Managing risk (การจัดการความเสี่ยง)

10 The globalization of business (ธุรกิจที่อยู่บนโลกเดียวกัน)
1 - 7 Financial Management Issues of the New Millennium การจัดการการเงินของรอบสหัสวรรษใหม่ The effect of changing technology (ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี) The globalization of business (ธุรกิจที่อยู่บนโลกเดียวกัน)

11 โลกาภิวัฒน์ทางธุรกิจ
1 - 8 การจัดการการเงินของรอบสหัสวรรษใหม่ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจจากการใช้คอมพิวเตอร์ การโอนข้อมูลผ่านทางอิเลคทรอนิค และ โลกาภิวัฒน์ทางธุรกิจ ลงทุนมาก การขยายตลาด การลดต้นทุน เพิ่มการแข่งขัน ในท้องถิ่น

12 “ผู้ถือหุ้นมีความมั่งคั่งสูงสุด” (Stockholder wealth maximization)
1 - 15 วัตถุประสงค์ของบริษัท (Goals of the Corporation) คือ “ผู้ถือหุ้นมีความมั่งคั่งสูงสุด” (Stockholder wealth maximization) หมายถึง “ ทำให้ราคาหุ้นสามัญของกิจการสูงสุด” (Maximizing the price of the firm’s common stock)

13 Factors that affect stock price. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น
1 - 31 Factors that affect stock price. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น Projected cash flows to shareholders (ประมาณการกระแสเงินสดที่ ผู้ถือหุ้นจะได้รับ) Timing of the cash flow stream (ช่วงเวลาที่ได้รับกระแสเงินสด) Riskiness of the cash flows (ความเสี่ยงของกระแสเงินสด)

14 สภาพแวดล้อม - ปัจจัยภายนอก
1 - 34 สภาพแวดล้อม - ปัจจัยภายนอก 1. ข้อกฎหมายต่างๆ 2. ภาวะเศรษฐกิจ 3. กฎหมายภาษีอากร 4. ภาวะของตลาดหลักทรัพย์

15 งบการเงินและกระแสเงินสด
บทที่ 2 งบการเงินและกระแสเงินสด 2 - 2

16 รายงานประจำปี The Annual Report
2 - 4 รายงานประจำปี The Annual Report Statement of Financial Position – งบแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง Income Statement – งบกำไรขาดทุน คือ งบที่แสดงผลการดำเนินงานของกิจการสำหรับงวดเวลาหนึ่ง Statement of Cash Flow – งบกระแสเงินสด คือ งบที่แสดงว่าในช่วงระยะเวลาหนึ่งกิจการได้เงินสดมาจากแหล่งใดและใช้เงินสดไปอย่างไร

17 การวิเคราะห์งบการเงิน
3 - 2 บทที่ 3 การวิเคราะห์งบการเงิน

18 1. การวิเคราะห์อัตราส่วน
3 - 5 1. การวิเคราะห์อัตราส่วน เป็นการเปรียบเทียบเพื่อให้เห็น สัดส่วนของตัวเลขต่างๆ ใน งบการเงิน เช่น การนำหนี้สิน มาเปรียบเทียบกับสินทรัพย์ การเปรียบเทียบนี้ เรียกว่า อัตราส่วนทางการเงิน การวิเคราะห์อัตราส่วน

19 อัตราส่วนมีประโยชน์อย่างไร
3 - 6 อัตราส่วนมีประโยชน์อย่างไร 1. เป็นตัวเลขที่เป็นมาตรฐานช่วยในการเปรียบเทียบ 2. นำมาใช้เพื่อชี้ให้เห็นจุดเด่น และจุดด้อยของกิจการ

20 3 - 7 ถาม อัตราส่วนแบ่งได้กี่กลุ่ม แต่ละกลุ่มตอบคำถามอะไรบ้าง ? ตอบ แบ่งเป็น 5 กลุ่ม คือ 1. สภาพคล่อง (Liquidity) 2. ประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ (Asset Management) 3. การบริหารหนี้สิน (Debt Management) 4. ความสามารถในการทำกำไร (Profitability) 5. ประเมินผลธุรกิจโดยรวม (Market Value)

21 Liquidity ความสามารถในการชำระ
3 - 8 1. Liquidity ความสามารถในการชำระ หนี้สินระยะสั้นที่ครบกำหนด 2. Asset Management ประสิทธิภาพในการใช้ สินทรัพย์ (amount of assets vs. sales) 3. Debt Management การลงทุนในสินทรัพย์ทั้งสิ้น ได้เงินทุนจากหนี้สินเพียงไร

22 Profitability Market Value 3 - 9 ผู้ลงทุนคิดว่ากิจการเป็น
4. Profitability วัดประสิทธิภาพการบริหารงาน ว่าบรรลุตามเป้าหมาย หรือไม่ ซึ่งพิจารณาจาก อัตราส่วน PM, ROE และROA 5. Market Value ผู้ลงทุนคิดว่ากิจการเป็น อย่างไร ซึ่งพิจารณาจาก อัตราส่วน P/E และ M/B

23 สินทรัพย์หมุนเวียน - สินค้าคงเหลือ
3 - 15 2. อัตราส่วนสภาพคล่อง 1. อัตราส่วนหมุนเวียน (Current ratio) สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน = บริษัท อัลไลด์ฯ = 1,000 310 = ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 4.2 2. อัตราส่วนหมุนเร็ว (Quick or Acid test ratio) สินทรัพย์หมุนเวียน - สินค้าคงเหลือ หนี้สินหมุนเวียน = บริษัท อัลไลด์ฯ = 385 310 = 1.2 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 2.1

24 3. อัตราส่วนประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์
3 - 17 3. อัตราส่วนประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ 1. อัตราการหมุนของสินค้า (Inventory turnover ratio) ยอดขาย สินค้าคงเหลือ = บริษัท อัลไลด์ฯ = 3,000 615 = ครั้ง ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = ครั้ง

25 ข้อสังเกต : อัตราการหมุนของสินค้า
3 - 18 ข้อสังเกต : อัตราการหมุนของสินค้า อัตราการหมุนของสินค้าต่ำกว่าค่าเฉลี่ย ของอุตสาหกรรม ควรตรวจสอบว่าเหตุใดจึงมีสินค้าคงเหลือมากเกินไป คุณภาพและการบริหารสินค้ามีประสิทธิภาพหรือไม่

26 3 - 19 2. ระยะเวลาในการเก็บหนี้ถัวเฉลี่ย (DSO = Days sales outstanding) ลูกหนี้การค้า ยอดขายเฉลี่ยต่อวัน ยอดขายต่อปี/365 = บริษัท อัลไลด์ฯ = 3,000 / 365 = 375 8.2192 46 วัน ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = วัน

27 ข้อสังเกต : DSO บริษัท อัลไลด์ ฯ เก็บเงินจากลูกหนี้ได้ช้ากว่า
3 - 20 ข้อสังเกต : DSO บริษัท อัลไลด์ ฯ เก็บเงินจากลูกหนี้ได้ช้ากว่า ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม บริษัทควรพิจารณานโยบาย การขายเชื่อและระยะเวลา ในการให้เครดิตแก่ลูกค้า

28 3 - 21 3. อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed assets turnover ratio)
3. อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed assets turnover ratio) ยอดขาย สินทรัพย์ถาวรสุทธิ = บริษัท อัลไลด์ฯ = 3,000 1,000 = ครั้ง ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = ครั้ง 4. อัตราการหมุนของสินทรัพย์ทั้งสิ้น (Total assets turnover ratio) = ยอดขาย สินทรัพย์ทั้งสิ้น = ,000 2,000 = ครั้ง บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = ครั้ง

29 ข้อสังเกต : อัตราการหมุนของ FA และ TA
3 - 22 ข้อสังเกต : อัตราการหมุนของ FA และ TA บริษัท อัลไลด์ ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม 3. 0 x x FA TO TA TO 1. 5 x x อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวรเท่ากับ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม แต่อัตราการหมุนของสินทรัพย์ทั้งสิ้นต่ำกว่า ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมเล็กน้อย ซึ่งสาเหตุ มาจากมีลูกหนี้และสินค้าคงเหลือมาก

30 4. อัตราส่วนการบริหารหนี้สิน
3 - 23 4. อัตราส่วนการบริหารหนี้สิน ข้อควรพิจารณาในการจัดหาเงินโดยการกู้ยืม 1. ผู้ถือหุ้นมีอำนาจในการควบคุมกิจการคงเดิม โดยไม่ต้องลงทุนเพิ่ม 2. การกู้เงินเพิ่มขึ้นความเสี่ยงของเจ้าหนี้จะเพิ่มขึ้น 3. (กำไร - ดอกเบี้ยจ่าย) เป็นของผู้ถือหุ้น ดอกเบี้ยจ่ายไม่เพิ่มขึ้น

31 3 - 28 1. อัตราส่วนหนี้สิน (Debt ratio) หนี้สินทั้งสิ้น
1. อัตราส่วนหนี้สิน (Debt ratio) หนี้สินทั้งสิ้น สินทรัพย์ทั้งสิ้น = บริษัท อัลไลด์ฯ = 2,000 = ,064 = % ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = % 2. Time - interest - earned (TIE) = EBIT ดอกเบี้ยจ่าย บริษัท อัลไลด์ฯ 283.8 88 = = เท่า ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = เท่า

32 EBITDA + Lease payments Interest + Loan repayments + Lease payments
3 - 29 3. EBITDA Coverage Ratio คือ อัตราส่วนแสดงว่ากิจการมีกระแส เงินสดพอที่จะชำระค่าใช้จ่ายประจำทางการเงินได้เพียงไร EBITDA coverage ratio EBITDA + Lease payments Interest + Loan repayments + Lease payments = 411.8 136 = บริษัท อัลไลด์ฯ = เท่า ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = เท่า

33 ข้อสังเกต : อัตราส่วนการบริหารหนี้สิน
3 - 30 ข้อสังเกต : อัตราส่วนการบริหารหนี้สิน บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม D/A TIE EBITDA coverage 53.2 % 3.2 x 3.0 x 40.0 % 6.0 x 4.3 x บริษัท อัลไลด์ฯ มีหนี้สินสูงกว่า ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม

34 ความสามารถในการชำระดอกเบี้ย ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม
3 - 31 ความสามารถในการชำระดอกเบี้ย ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม นอกจากนี้อัตราส่วน EBITDA ยัง แสดงว่ากระแสเงินสดรวมทั้งสิ้นจะ สามารถชำระค่าใช้จ่ายทางการเงิน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมด้วย ทำให้การจัดหาเงินจากการกู้ยืมใน อนาคตยากและอัตราดอกเบี้ยสูง

35 กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ
3 - 32 5. อัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร 1. อัตรากำไรสุทธิ (Profit margin on sales) กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ ยอดขาย = บริษัท อัลไลด์ฯ = 113.5 3,000 = % ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = %

36 ข้อสังเกต : อัตรากำไรสุทธิต่อยอดขาย
3 - 33 ข้อสังเกต : อัตรากำไรสุทธิต่อยอดขาย บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม PM 3. 8 % % PM บริษัท อัลไลด์ฯ ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย ของอุตสาหกรรม อาจมีสาเหตุมาจาก ต้นทุนสูงเกินไป บริษัทมีหนี้สินสูง จึงต้องจ่ายดอกเบี้ยสูง ทำให้กำไรสุทธิต่ำ

37 3 - 34 EBIT 2. Basic Earning Power(BEP) สินทรัพย์ทั้งสิ้น 283.8
= ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = % = % บริษัท อัลไลด์ฯ 283.8 2,000

38 ข้อสังเกต : BEP 3 - 35 บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม BEP 14.2 %
บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม BEP 14.2 % 17.2 % BEP ไม่นำค่าภาษีและดอกเบี้ยจ่ายมาคำนวณ จึงมี ประโยชน์ในการเปรียบเทียบสำหรับกิจการที่มีอัตรา ภาษี และโครงสร้างของเงินทุนที่ใช้หนี้สินต่างกัน บริษัท อัลไลด์ฯ BEP ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม จึงต้องปรับปรุงแก้ไขการบริหารสินทรัพย์ต่อไป

39 3 - 36 3. อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ [Return on total assets (ROA)
หรือ Return on Investment (ROI)] กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สินทรัพย์ทั้งสิ้น = บริษัท อัลไลด์ฯ 113.5 2,000 = % = ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = % 4. อัตราผลตอบแทนส่วนของผู้เป็นเจ้าของ [(Return on common equity (ROE)] กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ ส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ = บริษัท อัลไลด์ฯ 113.5 896 = = % ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = %

40 ข้อสังเกต : ROA และ ROE BEP ต่ำ 3 - 37 ROA ROE 5.7 % 9.0 %
5.7 % % 12.7 % % บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม บริษัท อัลไลด์ฯ ทั้ง ROA และ ROE ต่ำกว่า ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม เนื่องจาก BEP ต่ำ มีหนี้สินสูงกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม ทำให้ดอกเบี้ยจ่ายสูงและกำไรสุทธิลดลง

41 6. อัตราส่วนประเมินผลธุรกิจโดยรวม
3 - 38 6. อัตราส่วนประเมินผลธุรกิจโดยรวม 1. ราคาตลาดกับกำไรสุทธิต่อหุ้น [Price/Earnings (P/E) Ratio] ราคาตลาดต่อหุ้น กำไรสุทธิต่อหุ้น = บริษัท อัลไลด์ฯ 23.00 2.27 = ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม =

42 3 - 39 23.00 บริษัท อัลไลด์ฯ 4.27 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 6. 8
2. ราคาตลาดกับกระแสเงินสดต่อหุ้น (Price/Cash Flow Ratio) ราคาตลาดต่อหุ้น กระแสเงินสดต่อหุ้น = บริษัท อัลไลด์ฯ 23.00 4.27 = ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม =

43 จำนวนหุ้นสามัญที่อยู่ในมือบุคคลภายนอก มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น
3 - 40 3. ราคาตลาดกับมูลค่าตาม บัญชีต่อหุ้น [Market/Book (M/B) Ratio] ส่วนของผู้ถือหุ้น จำนวนหุ้นสามัญที่อยู่ในมือบุคคลภายนอก = มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (Book value per share) บริษัท อัลไลด์ฯ = 50 = บาท Market/book ratio (M/B) ราคาตลาดต่อหุ้น มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น = บริษัท อัลไลด์ ฯ 23.00 17.92 = = 1.3 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 1.7

44 ข้อสังเกต : การประเมินผลธุรกิจโดยรวม
3 - 41 ข้อสังเกต : การประเมินผลธุรกิจโดยรวม บริษัท อัลไลด์ฯ ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม P/E P/CF M/B 10.1 x x 5.4 x x 1.3 x x P/E : บริษัทมีกำไรสุทธิ 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นราคาเท่าไร P/CF : บริษัทมีกระแสเงินสด 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นราคาเท่าไร M/B : บริษัทมีมูลค่าตามบัญชี 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นราคาเท่าไร อัตราส่วนทั้ง 3 แสดงว่าผู้ลงทุนมองอนาคตของกิจการอย่างไร

45 8. การใช้และข้อจำกัดของการวิเคราะห์อัตราส่วน
3 - 49 8. การใช้และข้อจำกัดของการวิเคราะห์อัตราส่วน 1. บริษัทที่มีหลายแผนกซึ่งประกอบธุรกิจแตกต่างกัน การเปรียบ เทียบอัตราส่วนทางการเงินกับอุตสาหกรรมทำได้ยาก 2. บริษัทที่มีอัตราส่วนทางการเงินดีกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม อาจไม่จำเป็นต้องเป็นบริษัทที่มีประสิทธิภาพดีเสมอไป 3. ภาวะเงินเฟ้ออาจทำให้การเปรียบเทียบแนวโน้มไม่ถูกต้อง 4. สินค้าตามฤดูกาลจะทำให้อัตราส่วนเบี่ยงเบนไปได้

46 3 - 50 5. การตกแต่งบัญชี (window dressing)
6. วิธีการบัญชีที่แตกต่างกัน เช่น LIFO FIFO 7. การสรุปผลการวิเคราะห์อัตราส่วนทาง การเงินอาจมองในด้านดี หรือด้านไม่ดีก็ได้ 8. กิจการที่มีอัตราส่วนหนึ่งดี อีกอัตราส่วนไม่ดี สรุปไม่ได้ว่ากิจการมีจุดเด่น และจุดด้อยอะไรบ้าง

47 10. ย้อนรอยตัวเลข (การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงคุณภาพ)
3 - 52 10. ย้อนรอยตัวเลข (การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงคุณภาพ) 1. รายได้ของกิจการขึ้นอยู่กับลูกค้าเพียงรายเดียวหรือไม่ 2. รายได้ของกิจการขึ้นกับผลิตภัณฑ์หลักชนิดเดียวหรือไม่ 3. กิจการต้องอาศัย Supplier เพียงรายเดียวหรือไม่ 4. กิจการลงทุนในต่างประเทศมากน้อยเพียงใด 5. ภาวะการณ์แข่งขันเป็นอย่างไร 6. แนวโน้มในอนาคตของกิจการ 7. กฎระเบียบต่างๆ

48 ตลาดการเงิน สถาบันการเงิน และอัตราดอกเบี้ย
4 - 2 บทที่ 4 ตลาดการเงิน สถาบันการเงิน และอัตราดอกเบี้ย

49 2. สถาบันการเงิน 4 - 16 Direct transfers เคลื่อนย้ายโดยตรง
เงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างผู้ออมและผู้กู้อย่างไร How is capital transferred between savers and borrowers? Direct transfers เคลื่อนย้ายโดยตรง Investment banking house เคลื่อนย้ายโดยผ่านธนาคารเพื่อการลงทุน Financial intermediaries เคลื่อนย้ายโดยผ่านสื่อกลางทางการเงิน

50 Business Savers Investment Financial Banking House Intermediary 4 - 17
Securities (Stocks or Bonds) Dollars Stocks Bonds Dollars Dollars Business, Securities Intermediary,s

51 4 - 22 4. ต้นทุนของเงิน (The Cost of Money) The price, or cost, of debt capital is the interest rate (ราคาหรือต้นทุนของหนี้สิน คือ อัตราดอกเบี้ย) The price, or cost, of equity capital is the required return. The required return investors expect is composed of compensation in the form of dividends and capital gains. (ราคาหรือต้นทุนส่วนของเจ้าของ คือ ผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนต้องการซึ่งคาดว่าจะได้รับประกอบด้วย เงินปันผลและกำไรส่วนทุน)

52 6. องค์ประกอบอัตราดอกเบี้ยของตลาด
4 - 25 6. องค์ประกอบอัตราดอกเบี้ยของตลาด k = k* + IP + DRP + LP + MRP

53 “Nominal” vs. “Real” rates
4 - 26 “Nominal” vs. “Real” rates k = อัตราที่กำหนดไว้ (represents any nominal rate) เช่น อัตราผลตอบแทนที่ต้องการจาก ตราสารหนี้ (required rate of return on a debt security) k* = อัตราดอกเบี้ยของหลักทรัพย์ที่ปราศจากความ เสี่ยง(“real”risk - free rate of interest) ถ้าไม่มี เงินเฟ้อ เช่น อัตราดอกเบี้ยของหลักทรัพย์ รัฐบาลระยะสั้น

54 (rate of interest on treasury securities)
4 - 27 IP = ส่วนชดเชยความเสี่ยงจากเงินเฟ้อ (inflation premium) kRF = k* + IP = อัตราดอกเบี้ยของหลักทรัพย์รัฐบาล (rate of interest on treasury securities) DRP = ส่วนชดเชยความเสี่ยงจากการไม่สามารถชำระ หนี้ได้ตามกำหนด (default risk premium) LP = ส่วนชดเชยความเสี่ยงจากสภาพคล่อง (liquidity premium) MRP = ส่วนชดเชยความเสี่ยงจากระยะเวลาครบกำหนด ไถ่ถอน (maturity risk premium)

55 kRF = k* + IP Nominal (Quoted) เทียบเคียงได้กับ Risk - Free Rate
4 - 28 kRF = k* + IP Nominal (Quoted) Risk - Free Rate of Interest เทียบเคียงได้กับ - US. Treasury bill (T - bill) - Treasury bonds (T - bonds) * แต่ถ้าอัตราดอกเบี้ยเปลี่ยน แปลงก็มีความเสี่ยงบ้าง

56 IP มีผลต่ออัตราดอกเบี้ยมากเพราะ
4 - 29 IP มีผลต่ออัตราดอกเบี้ยมากเพราะ ทำให้กำลังซื้อและอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง ลดลง เป็นอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยที่คาดไว้ตลอด อายุหลักทรัพย์ DRP (Default Risk Premium) ถ้า DRP เพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ย จะเพิ่มขึ้นด้วย

57 LP (Liquidity Premium) สภาพคล่อง หมายถึง การเปลี่ยนเป็นเงินสดได้เร็ว
4 - 30 LP (Liquidity Premium) สภาพคล่อง หมายถึง การเปลี่ยนเป็นเงินสดได้เร็ว ในราคายุติธรรม ซึ่งหุ้น จะมีสภาพคล่องมากกว่า ที่ดิน โรงงาน ปกติอยู่ระหว่าง %

58 MRP (Maturity Risk Premium) ความเสี่ยงนี้จะเกิดกับหลักทรัพย์ระยะยาว
4 - 31 MRP (Maturity Risk Premium) ความเสี่ยงนี้จะเกิดกับหลักทรัพย์ระยะยาว เพราะถ้าอัตราดอกเบี้ยท้องตลาดสูงขึ้น พันธบัตร ระยะยาวจะมีราคาลดลง รวมทั้งพันธบัตรรัฐบาล เรียกว่า ความเสี่ยงเนื่องจากอัตราดอกเบี้ย (interest rate risk) ถ้าระยะเวลายาวมากความเสี่ยงนี้จะสูงขึ้น

59 ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน RISK AND RATES OF RETURN
5 - 2 บทที่ 5 ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน RISK AND RATES OF RETURN

60 สรุปแนวความคิดของบทนี้ 1. สินทรัพย์ทางการเงิน (financial assets) :
5 - 5 สรุปแนวความคิดของบทนี้ 1. สินทรัพย์ทางการเงิน (financial assets) : ผู้ลงทุนคาดว่าจะได้รับผลตอบแทนในรูปของ กระแสเงินสด และมีความเสี่ยงในความ ไม่แน่นอนของกระแสเงินสดนั้น

61 2. ความเสี่ยงของสินทรัพย์ มี 2 ประเภท คือ
5 - 6 2. ความเสี่ยงของสินทรัพย์ มี 2 ประเภท คือ (1) Stand - alone risk (ความเสี่ยงเฉพาะ) คือ ความเสี่ยงของกระแสเงินสดที่เกิด จากการลงทุนในสินทรัพย์เพียงตัวเดียว (2) Portfolio risk คือ ความเสี่ยงของ กระแสเงินสดที่เกิดจากการลงทุนใน สินทรัพย์หลายตัวนำมาวิเคราะห์รวมกัน

62 3. ความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ลงทุนแบ่งเป็น 2 ส่วน
5 - 7 3. ความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ลงทุนแบ่งเป็น 2 ส่วน (1) ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้ (diversifiable risk) ความเสี่ยงนี้ถ้ากระจายการลงทุนจะหลีกเลี่ยงได้ (2) ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (market risk , relevant risk) ความเสี่ยงนี้เนื่องมาจากดัชนี ตลาดหลักทรัพย์ลดลง แม้ว่าจะกระจายการ ลงทุนก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงต้องสนใจมาก

63 4. สินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง ผลตอบ
5 - 8 4. สินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง ผลตอบ แทนที่คาดว่าจะได้รับจะสูงด้วย (เพื่อชดเชย กับความเสี่ยงที่สูงขึ้น) เช่น การลงทุนในตั๋วเงินคลัง 5 % (ไม่มีความเสี่ยง) แต่ถ้าลงทุนในหุ้นสามัญต้อง ได้รับผลตอบแทนสูงกว่า 5 % (เพราะมีความเสี่ยง) ผู้ลงทุนโดยทั่วไปจะหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (averse to risk)

64 1. ผลตอบแทนจากการลงทุน (จำนวนเงิน) = 1,100 - 1,000 = 100 บาท ผลตอบแทน
5 - 9 1. ผลตอบแทนจากการลงทุน ผลตอบแทน (จำนวนเงิน) เงินที่ได้รับจาก การลงทุน = - เงินลงทุน = 1, ,000 = 100 บาท ตัวอย่าง ลงทุน 1,000 บาท เมื่อครบ 1 ปี ได้รับเงิน 1,100 บาท คำนวณอัตราผลตอบแทนดังนี้ :

65 - เงินลงทุน = เงินลงทุน 100 = = 10 % 1,000 เงินที่ได้รับจาก การลงทุน
5 - 10 เงินที่ได้รับจาก การลงทุน - เงินลงทุน อัตราผลตอบแทน จากการลงทุน = เงินลงทุน 100 = = 10 % 1,000

66 ความเสี่ยงจากการลงทุน
5 - 12 ความเสี่ยงจากการลงทุน คือ ความเสี่ยงเกี่ยวกับความน่าจะเป็นที่จะได้รับ ผลตอบแทนต่ำหรือขาดทุน (low or negative return) ถ้าความน่าจะเป็นนี้สูงการลงทุนจะมีความเสี่ยงสูงด้วย

67 2. ความเสี่ยงเฉพาะ (Stand – Alone Risk)
5 - 15 2. ความเสี่ยงเฉพาะ (Stand – Alone Risk) ความเสี่ยง คือ โอกาสของเหตุการณ์ที่ไม่ต้องการให้เกิดขึ้น ผลตอบแทน คือ รายได้จากการลงทุนในช่วงเวลาหนึ่ง ความเสี่ยงเฉพาะจะเกิดขึ้นจากการลงทุน ในหลักทรัพย์เพียงตัวเดียว

68 การกระจายความน่าจะเป็น (probability distribution)
5 - 17 (1) การกระจายของความน่าจะเป็น (Probability Distribution) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์นั้น ๆ ถ้ากำหนดความน่าจะเป็นให้เหตุการณ์ ที่จะเกิดขึ้นแล้วนำมารวมกัน เรียกว่า การกระจายความน่าจะเป็น (probability distribution)

69 ^ ^ P (2) อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ : k (k - hat)
5 - 19 (2) อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ : k (k - hat) ^ (Expected Rate of Return) กรณีลงทุนในสินทรัพย์ชนิดเดียว k = ^ P1k1 + P2k2 + ………. Pnkn ^ k = S P i n i = 1 Pi = โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ i , ki = อัตราผลตอบแทนถ้าเกิดเหตุการณ์ i

70 U.S. Water Martin Products 5 - 21 10 15 20 0.1 0.2 0.3 0.4
15 20 0.1 0.2 0.3 0.4 U.S. Water ความน่าจะเป็น อัตราผล ตอบแทน (%) อัตราผลตอบแทน ที่คาดว่าจะได้รับ 5 - 21 - 70 15 100 อัตราผล ตอบแทน (%) 0.1 0.2 0.3 0.4 Martin Products ความน่าจะเป็น อัตราผลตอบแทน ที่คาดว่าจะได้รับ

71 ) ^ ( - P k s ) ^ ( - P k (s) Variance =
5 - 23 (3) การวัดความเสี่ยงเฉพาะ : ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่นิยมใช้ คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Variance = ) ^ ( 1 2 = - n i P k s Standard deviation ) ^ ( 1 2 = - n i P k (s)

72 สรุป : การตัดสินใจเลือกลงทุน
5 - 28 สรุป : การตัดสินใจเลือกลงทุน ^ 1. กรณี k เท่ากันจะเลือกลงทุนหุ้นที่ ต่ำกว่า 2. กรณี เท่ากันจะเลือกลงทุนหุ้นที่ k สูงกว่า 3. กรณี k สูงกว่าและ ก็สูงกว่าด้วยจะเลือก ลงทุนอย่างไร s ^ s ^ s ต้องเปรียบเทียบอัตราความเสี่ยงต่ออัตรา ผลตอบแทน (Coefficient of Variation “CV”)

73 (4) การวัดความเสี่ยงเฉพาะ : Coefficient of Variation
5 - 29 (4) การวัดความเสี่ยงเฉพาะ : Coefficient of Variation ค่าสัมประสิทธิ์ของความแปรปรวน คือ ความเสี่ยงของผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ 1 หน่วย A standardized measure of dispersion about the expected value, that shows the risk per unit of return. CV = = Std dev s ^ k Mean

74 Portfolio : กลุ่มของสินทรัพย์ 2 ชนิดขึ้นไป
5 - 49 3. ความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน (Portfolio Risk) Portfolio : กลุ่มของสินทรัพย์ 2 ชนิดขึ้นไป การลงทุนในสินทรัพย์เป็นกลุ่ม ทำให้ความเสี่ยงต่ำ

75 kP = ค่าถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ ki
5 - 50 (Expected return on a portfolio) = kP ^ kP = w1k1 + w2k wnkn k p = S w i n i = 1 (1) ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน kP = ค่าถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ ki

76 (2) ความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน : P
5 - 52 (2) ความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน : P s จะนำ ของสินทรัพย์ลงทุนแต่ละตัว มาถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักไม่ได้ s P จะต่ำกว่าค่าถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ i ตามปกติ s s เพราะผลตอบแทนของสินทรัพย์แต่ละตัวมีความสัมพันธ์กัน Correlation Coefficient : r

77 (3) ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้กับความเสี่ยงทางตลาด
5 - 58 (3) ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้กับความเสี่ยงทางตลาด Stand-alone Market Firm-specific + = risk risk risk ความเสี่ยงทางตลาดเป็น ส่วนหนึ่งของ stand - alone risk ของหลักทรัพย์ซึ่งไม่ สามารถขจัดได้โดยกระจาย การลงทุนและวัดด้วยค่า b เป็นความเสี่ยงส่วน หนึ่งของหลักทรัพย์ ที่สามารถขจัดได้โดย การกระจายการลงทุน

78 เป็นความเสี่ยงที่ขจัดได้โดยการกระจายการลงทุน Diversifiable
5 - 59 ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้ เป็นความเสี่ยงที่ขจัดได้โดยการกระจายการลงทุน Diversifiable Company - Specific Unsystematic Risk เป็นความเสี่ยงของ หลักทรัพย์นั้น เช่น โครง สร้างเงินทุนของกิจการ ลักษณะของผลิตภัณฑ์ฯลฯ

79 ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
5 - 60 ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ความเสี่ยงนี้ขจัดไม่ได้แม้ว่าจะการกระจายการลงทุน เช่น ความเสี่ยง จากภัยสงคราม ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น Relevant Market Non - diversifiable Systematic Risk ความเสี่ยงนี้ยังมีอยู่ใน portfolio บางครั้ง เรียกว่า ความเสี่ยงทางตลาด วัดได้โดยค่าเบต้า [beta“b”] ถ้าความเสี่ยงนี้สูงผู้ลงทุนจะต้องการอัตราผลตอบแทนสูง

80 Capital Asset Pricing Model : CAPM
5 - 65 Capital Asset Pricing Model : CAPM เป็นรูปแบบจำลองที่อธิบายความสัมพันธ์ของ ความเสี่ยงและผลตอบแทน โดยมีหลักสำคัญ คือ “อัตราผลตอบแทนที่ต้องการของหลักทรัพย์ใดเท่ากับ อัตราผลตอบแทนที่ไม่มีความเสี่ยง (risk free rate) บวก อัตราผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยความเสี่ยงที่ เพิ่มขึ้น เมื่อขจัดความเสี่ยงที่สามารถขจัดได้ออกไปแล้ว”

81 ki = kRF + (kM - kRF)bi ki = อัตราผลตอบแทนที่ต้องการของหุ้นสามัญ i
5 - 66 ki = kRF + (kM - kRF)bi ki = อัตราผลตอบแทนที่ต้องการของหุ้นสามัญ i kRF = อัตราผลตอบแทนที่ไม่มีความเสี่ยง kM = อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของตลาด bi = ค่าเบต้าของหุ้นสามัญ i

82 (4) แนวความคิดเกี่ยวกับค่าเบต้า (Beta : b)
5 - 67 (4) แนวความคิดเกี่ยวกับค่าเบต้า (Beta : b) Beta Coefficient : b ใช้วัดความเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทน ของหุ้นตัวใดตัวหนึ่งเปรียบเทียบกับการ เคลื่อนไหวอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของตลาด อัตราผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์ วัดจากการเคลื่อนไหวของดัชนีในตลาด หลักทรัพย์ต่าง ๆ

83 5 - 68 การคำนวณค่า b Run a regression of past returns of a security against past returns on the market. (ใช้ regression โดยนำผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในอดีตเทียบกับผลตอบแทนของตลาดในอดีต) The slope of the regression line (sometimes called the security’s characteristic line) is defined as the beta coefficient for the security. [ค่าความชันของ regression line (บางครั้งเรียกว่า the security’s characteristic line) ถูกนิยาม ว่าเป็นค่าสัมประสิทธิ์เบต้าของหลักทรัพย์นั้น]

84 CHARACTERISTIC LINES AND DIFFERENT BATAS
5 - 72 CHARACTERISTIC LINES AND DIFFERENT BATAS Beta > 1 (aggressive) EXCESS RETURN ON STOCK Beta = 1 Each characteristic line has a different slope. Beta < 1 (defensive) EXCESS RETURN ON MARKET PORTFOLIO

85 เส้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยง
5 - 85 4. ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงกับอัตราผลตอบแทน Security Market Line (SML) คือ เส้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยง ซึ่งวัดด้วยค่าสัมประสิทธิ์เบต้ากับอัตราผลตอบแทน ที่ต้องการของหลักทรัพย์ตัวใดตัวหนึ่ง

86 ki = kRF + (kM - kRF) bi Security Market Line Equation : สมการ SML
5 - 86 Security Market Line Equation : สมการ SML อัตราผล ตอบแทนที่ ต้องการหุ้น i = + ไม่มีความเสี่ยง ค่าเบต้า หุ้น i อัตราผลตอบ แทนของตลาดที่ ชดเชยความเสี่ยง ki = kRF (kM - kRF) bi หุ้น i ตัวเดียว

87 Security Market Line ( SML )
5 - 94 Security Market Line ( SML ) SML 1 Original situation อัตราผลตอบแทน ที่ต้องการ k (%) 1.5 Risk , b i 11 6

88 มูลค่าของเงินตามเวลา
6 - 2 บทที่ 6 มูลค่าของเงินตามเวลา

89 พันธบัตร และ มูลค่าพันธบัตร
7 - 2 บทที่ 7 พันธบัตร และ มูลค่าพันธบัตร

90 พันธบัตรคืออะไร (What is a bond ?)
7 - 5 พันธบัตรคืออะไร (What is a bond ?) A long-term debt instrument in which a borrower agrees to make payments of principal and interest, on specific dates, to the holders of the bond. พันธบัตร คือ ตราสารหนี้ระยะยาวซึ่งผู้กู้ (ผู้ออกพันธบัตร) ได้สัญญาว่าจะจ่ายชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยตามวันที่กำหนดไว้ให้แก่ผู้ถือพันธบัตร

91 1. มูลค่าที่ตราไว้ (Par value)
7 - 9 2. ลักษณะที่สำคัญของพันธบัตร 1. มูลค่าที่ตราไว้ (Par value) จำนวนเงินที่ผู้ออกพันธบัตรจะต้องชำระคืน แก่ผู้ถือพันธบัตร 1 ฉบับเมื่อครบกำหนดไถ่ถอน

92 2. อัตราดอกเบี้ยที่กำหนด (Coupon interest rate)
7 - 10 2. อัตราดอกเบี้ยที่กำหนด (Coupon interest rate) Floating rate bonds พันธบัตรที่อัตราดอกเบี้ย ลอยตัวตามอัตราดอกเบี้ยของตลาด Fixed rate bonds พันธบัตรที่กำหนด อัตราดอกเบี้ยไว้แน่นอน Zero coupon bonds พันธบัตรที่ไม่มีการจ่าย ดอกเบี้ย ผู้ลงทุนจะซื้อโดยหักส่วนลดไว้

93 3. กำหนดไถ่ถอน (Maturity date) ปกติจะอยู่ในช่วงเวลา 10 - 40 ปี
7 - 11 3. กำหนดไถ่ถอน (Maturity date) ปกติจะอยู่ในช่วงเวลา ปี 4. การไถ่ถอนก่อนครบกำหนด (Call provisions) พันธบัตรที่ออกจำหน่ายกำหนดเงื่อนไขนี้ไว้ เมื่ออัตราดอกเบี้ยของตลาดลดลงต่ำกว่า อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตร ผู้ออกพันธบัตร จะใช้สิทธิไถ่ถอนพันธบัตรก่อนกำหนด

94 3. การประเมินมูลค่าพันธบัตร (Bond Valuation)
7 - 15 3. การประเมินมูลค่าพันธบัตร (Bond Valuation) kd% 1 2 3 N VB = ? INT INT INT INT + M VB = มูลค่าตามทฤษฎีของพันธบัตร kd = อัตราผลตอบแทนที่ต้องการจากพันธบัตร ( อัตราดอกเบี้ยของตลาด )

95 N = อายุของพันธบัตรปัจจุบันถึง วันครบกำหนดไถ่ถอน
7 - 16 N = อายุของพันธบัตรปัจจุบันถึง วันครบกำหนดไถ่ถอน INT = จำนวนดอกเบี้ยของพันธบัตรต่องวด M = มูลค่าที่ตราไว้หรือมูลค่าที่ไถ่ถอน (par value)

96 VB = INT (PVIFAk , N) + M (PVIFk , N) d d
7 - 17 VB = N INT M t = 1 (1 + kd) t (1 + kd) N หรือ VB = INT (PVIFAk , N) + M (PVIFk , N) d d

97 พันธบัตรมูลค่าฉบับละ 1,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 10 % อายุ 15 ปี
7 - 18 พันธบัตรมูลค่าฉบับละ 1,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 10 % อายุ 15 ปี อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ 10 % พันธบัตรมีมูลค่าตามทฤษฎีเท่าไร ตัวอย่าง INT ( 1 + kd )1 INT ( 1 + kd )2 INT ( 1 + kd )N M ( 1 + kd )N VB = …… 100 ( )1 100 ( )2 100 ( )15 1,000 ( )15 VB = … = 100 (PVIFA10% , 15) ,000 (PVIF10% , 15)

98 การเปลี่ยนแปลงมูลค่าพันธบัตรตามเวลา
7 - 27 การเปลี่ยนแปลงมูลค่าพันธบัตรตามเวลา Bond Value kd ลดลงเหลือ 5 % Premium Bond 1,495 kd = coupon rate M = 1,000 M 714 Discount Bond kd เพิ่มขึ้นเป็น 15 % Years

99 ผลตอบแทนที่ไปลงทุนต่อ
7 - 42 6.การประเมินความเสี่ยงของพันธบัตร ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) ความเสี่ยงจากอัตรา ผลตอบแทนที่ไปลงทุนต่อ (Reinvestment Rate Risk) 1. มีความสัมพันธ์กับมูลค่า (PRICE)ของพันธบัตร มีความสัมพันธ์กับรายได้ (INCOME)ของผู้ถือพันธบัตร 2. ผู้ถือพันธบัตรระยะยาว จะประสบความเสี่ยงนี้ มากกว่าผู้ถือพันธบัตร ระยะสั้น 2. ผู้ถือพันธบัตรระยะสั้นจะประสบ ความเสี่ยงนี้มากกว่าผู้ถือพันธบัตร ระยะยาว

100 บทที่ 8 หุ้น และมูลค่าหุ้น
8 - 2 บทที่ 8 หุ้น และมูลค่าหุ้น

101 3. การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ (Common Stock Valuation)
8 - 7 3. การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ (Common Stock Valuation) หุ้นสามัญ : ผู้ถือหุ้นสามัญมีฐานะเป็นเจ้าของกิจการ มีลักษณะสำคัญ 2 ประการ คือ 1. บริษัทจะจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นสามัญเมื่อมีกำไร 2. ถ้าผู้ถือหุ้นสามัญขายหุ้นได้ราคาสูงกว่าราคาที่ซื้อมา เรียกว่า กำไรส่วนทุน (capital gain) ถ้าขายได้ต่ำกว่า เรียกว่า capital loss

102 ดังนั้นผลตอบแทนที่คาดว่าจะไดัรับจาก
8 - 11 ดังนั้นผลตอบแทนที่คาดว่าจะไดัรับจาก หุ้นสามัญจึงมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ (1) ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากเงินปันผล (2) กำไรที่คาดว่าจะได้รับจากการขายหุ้นสามัญ Expected total return : kS = D P1 - P0 P P0 ^

103 นายกนกซื้อหุ้นสามัญราคาหุ้นละ 20 บาท
นายกนกซื้อหุ้นสามัญราคาหุ้นละ 20 บาท (P0) คาดว่าจะได้รับเงินปันผล (D1) หุ้นละ 1.50 บาท และถือหุ้นไว้ 1 ปี คาดว่าขายได้ (P1) บาท ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับเท่ากับเท่าไร kS = D P1 - P0 P P0 ^ = = 8. 5 % ตัวอย่าง 8 - 12

104 การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญโดยใช้เงินปันผลเป็นเกณฑ์
8 - 13 การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญโดยใช้เงินปันผลเป็นเกณฑ์ ผู้ลงทุนที่ซื้อหุ้นสามัญแล้วถือไว้ตลอดไป ผลประโยชน์ที่ได้รับ คือ เงินปันผล มูลค่าของ หุ้นสามัญ ผลรวมค่าปัจจุบัน ของเงินปันผล ที่ได้รับในอนาคต

105 4. มูลค่าหุ้นสามัญตามทฤษฎี กรณีที่อัตราเงินปันผลเพิ่มขึ้นคงที่
8 - 15 4. มูลค่าหุ้นสามัญตามทฤษฎี กรณีที่อัตราเงินปันผลเพิ่มขึ้นคงที่ ^ P0 = D0(1 + g) kS - g P0 = D1 สูตรนี้สำคัญต้องนำไปใช้อีก

106 8 - 21 อัตราการเจริญเติบโตของเงินปันผล normal Growth , 8 % zero
Declining Growth , - 8 % Dividend 1.15 1 2 3 4 5 Years End of Supernormal Growth Period Supernormal Growth , 30 % อัตราการเจริญเติบโตของเงินปันผล 8 - 21

107 9 - 2 บทที่ 9 ต้นทุนของเงินทุน

108 หมายถึง เงินทุนจากแหล่งเงินทุนระยะยาว
9 - 6 หมายถึง เงินทุนจากแหล่งเงินทุนระยะยาว ได้แก่ หนี้สินระยะยาว หุ้นบุริมสิทธิ์ หุ้นสามัญ และกำไรสะสม ต้นทุนของเงินทุนนี้จะใช้เป็นอัตราส่วนลด (discount rate) ในเรื่อง “งบลงทุน” 2. ใช้เพื่อเปรียบเทียบในการ ตัดสินใจจัดหาแหล่งเงินทุนต่าง ๆ เงินทุน

109 ถ้า WACC ต่ำสุด มูลค่าของกิจการ (ราคาหุ้นสามัญ) จะสูงสุด
9 - 10 WACC = ต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเงินทุน (Weighted Average Cost of Capital) ถ้า WACC ต่ำสุด มูลค่าของกิจการ (ราคาหุ้นสามัญ) จะสูงสุด

110 3. ต้นทุนของหนี้สิน : kd(1 - T)
9 - 11 3. ต้นทุนของหนี้สิน : kd(1 - T) ต้นทุนของหนี้สินหลังภาษี = อัตราดอกเบี้ย - ภาษีที่ประหยัดได้ = kd(1 - T) = kd kdT

111 4. ต้นทุนของหุ้นบุริมสิทธิ์ : kP
9 - 13 4. ต้นทุนของหุ้นบุริมสิทธิ์ : kP DP PP kP =

112 5. ต้นทุนของกำไรสะสม : kS
9 - 15 5. ต้นทุนของกำไรสะสม : kS เงินทุนจากผู้ถือหุ้นสามัญได้มาจาก 2 แหล่ง 1. กำไรสะสม 2. การออกหุ้นสามัญจำหน่ายเพิ่ม ซึ่งจะมี ต้นทุนสูงกว่ากำไรสะสม เพราะต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการจัดจำหน่าย

113 เป็นต้นทุนเสียโอกาส (opportunity cost)
9 - 16 ต้นทุนของกำไรสะสม เป็นต้นทุนเสียโอกาส (opportunity cost) ของผู้ถือหุ้นสามัญ เพราะผู้ถือหุ้นควรจะได้รับ เงินปันผลแต่ไม่ได้รับ เนื่องจากบริษัทนำเงินกำไร ที่ทำมาหาได้ไปลงทุนขยายกิจการ ต้นทุนของกำไรสะสม = อัตราผลตอบแทน ที่ผู้ถือหุ้นสามัญต้องการ = kS

114 การคำนวณต้นทุนของกำไรสะสม
9 - 17 การคำนวณต้นทุนของกำไรสะสม มี 3 วิธี คือ วิธีที่ 1. ใช้ Capital Asset Pricing Model : CAPM kS = kRF + ( kM - kRF ) bi

115 วิธีที่ 2. อัตราผลตอบแทนจากพันธบัตรบวก Risk Premium
9 - 19 วิธีที่ 2. อัตราผลตอบแทนจากพันธบัตรบวก Risk Premium kS = Bond Yield + Risk Premium ตัวอย่าง บริษัทที่มีฐานะดีอัตราผลตอบแทนจาก พันธบัตร (bond yield) 8 % risk premium 4 % kS = 8 % + 4 % = 12 % ตรงขัาม บริษัทที่มีความเสี่ยงสูงกว่ามี bond yield สูงถึง 12 % : kS = = 16 %

116 วิธีที่ 3. Dividend Yield บวก Growth Rate หรือ Discounted Cash Flow
9 - 20 วิธีที่ Dividend Yield บวก Growth Rate หรือ Discounted Cash Flow จากสมการ P0 = D1 kS - g kS = + g P0 ^

117 ทั้ง 3 วิธีคำนวณ kS ไม่เท่ากัน คือ วิธีที่ 1 = 11.5 %
9 - 24 สรุป ทั้ง 3 วิธีคำนวณ kS ไม่เท่ากัน คือ วิธีที่ 1 = % วิธีที่ 2 = % วิธีที่ 3 = % จะใช้วิธีใดขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้บริหาร ผู้บริหารที่ conservative จะใช้ % หรืออาจใช้ต้นทุนทั้ง 3 วิธีถัวเฉลี่ยกัน

118 6. ต้นทุนของหุ้นสามัญที่ออกใหม่ : ke
9 - 25 6. ต้นทุนของหุ้นสามัญที่ออกใหม่ : ke ke จะสูงกว่า kS เพราะการออกหุ้นใหม่จำหน่าย ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการขายหุ้น D1 P0 (1 - F) F = ค่าใช้จ่ายในการขายหุ้น P0 (1 - F) = ราคาขายสุทธิ ke = g

119 7. ต้นทุนของเงินทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
9 - 28 7. ต้นทุนของเงินทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Weighted Average Cost of Capital : WACC) WACC = wdkd(1 - T) + wPkP + wckS w = สัดส่วนของเงินทุนแต่ละประเภท

120 10 - 2 บทที่ 10 งบลงทุน

121 2. แนวความคิดที่ทำให้เกิดโครงการลงทุน
10 - 9 2. แนวความคิดที่ทำให้เกิดโครงการลงทุน การเติบโตของกิจการ ความสามารถในการแข่งขัน การคิดค้นผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ การปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิมให้มีคุณภาพดีขึ้น การดำเนินงานที่ทำให้ต้นทุนลดลง

122 3. การจำแนกโครงการลงทุน
3. การจำแนกโครงการลงทุน 1. โครงการใหม่ทดแทนโครงการเก่าที่หมดอายุ 2. โครงการใหม่ทดแทนโครงการเก่าเพื่อลดต้นทุน 3. โครงการขยายผลิตภัณฑ์เดิม 4. โครงการผลิตภัณฑ์ใหม่ 5. โครงการเพื่อความปลอดภัยและรักษาสิ่งแวดล้อม 6. โครงการอื่น ๆ

123 5. วิธีการประเมินโครงการลงทุน
5. วิธีการประเมินโครงการลงทุน 5.1 ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period : PB) 5.2 ระยะเวลาคืนทุนโดยคำนึงถึงมูลค่าปัจจุบัน (Discounted Payback Period : DPB) 5.3 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV)

124 5.4 อัตราผลตอบแทนของโครงการ (Internal Rate of Return : IRR)
5.4 อัตราผลตอบแทนของโครงการ (Internal Rate of Return : IRR) 5.5 อัตราผลตอบแทนของโครงการที่ ปรับปรุงใหม่ (Modified Internal Rate of Return : MIRR)

125 5.3 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ( NPV )
5.3 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ( NPV ) การประเมินโครงการวิธีนี้จะคิดมูลค่าปัจจุบันของ กระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจ่ายเปรียบเทียบกัน NPV = PV กระแสเงินสดรับ - PV กระแสเงินสดจ่าย = CF CF CFn CF …… + ( 1 + k )1 ( 1 + k ) ( 1 + k )n = CFt n t = ( 1 + k )n

126 5.4 อัตราผลตอบแทนของโครงการ ( IRR )
5.4 อัตราผลตอบแทนของโครงการ ( IRR ) การประเมินโครงการวิธีนี้จะหาอัตรา ส่วนลด ( discount rate ) ที่ทำให้ ผลรวมมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด ในอนาคตเท่ากับเงินลงทุนเริ่มแรก (คือ อัตราส่วนลดที่ NPV เท่ากับ 0)

127 CF0 = ………… + ( 1 + IRR )1 ( 1 + IRR ) ( 1 + IRR )n CF CF CFn ( 1 + IRR )1 ( 1 + IRR )2 ( 1 + IRR )3 ( 1 + IRR )4 1,000 = โครงการ S

128 IRR S = 14.5 % CF - 1,000 500 400 300 100 ผลรวม PV 1,000 CF1-4 NPV
โครงการ S 1 2 3 4 - 1, 1,000 CF NPV ผลรวม PV CF1-4 IRR IRR S = %

129 เกณฑ์ในการตัดสินใจ 1. IRR ของโครงการ คือ อัตราผลตอบแทน
เกณฑ์ในการตัดสินใจ 1. IRR ของโครงการ คือ อัตราผลตอบแทน ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการนั้น 2. โครงการที่ให้ IRR = ต้นทุนของเงินทุน โครงการนั้นให้อัตราผลตอบแทน เท่ากับต้นทุนของเงินทุนด้วย

130 4. จะเลือกโครงการที่ให้ IRR > ต้นทุนของเงินทุน
4. จะเลือกโครงการที่ให้ IRR > ต้นทุนของเงินทุน ปฏิเสธโครงการที่ให้ IRR < ต้นทุนของเงินทุน 5. กรณีที่เป็นโครงการที่ทดแทนกันได้ จะเลือกลงทุน โครงการที่ให้ IRR สูงกว่า 3. โครงการที่ให้ IRR > ต้นทุนของเงินทุน โครงการ นั้นให้อัตราผลตอบแทนมากกว่าต้นทุนของเงินทุน กรณีโครงการ S และโครงการ L : รับโครงการ S

131 7. วิธีอัตราผลตอบแทนของโครงการที่ปรับปรุงใหม่
7. วิธีอัตราผลตอบแทนของโครงการที่ปรับปรุงใหม่ ( Modified Internal Rate of Return : MIRR ) วิธีนี้สมมติว่านำเงินสดที่ได้รับในปี แรก ๆ ไปลงทุนจนถึงปีสุดท้ายของ โครงการโดยได้รับผลตอบแทนเท่ากับ ต้นทุนของเงินทุน (Cost of Capital)

132 2. นำผลที่คำนวณได้ตามข้อ 1 มารวมกัน เป็นมูลค่า ณ ปีสุดท้ายของโครงการ
2. นำผลที่คำนวณได้ตามข้อ 1 มารวมกัน เป็นมูลค่า ณ ปีสุดท้ายของโครงการ ( Terminal Value : TV ) 3. หาอัตราส่วนลดที่ทำให้ TV เท่ากับเงินลงทุนเริ่มแรกพอดี ซึ่งก็คือ MIRR นั่นเอง

133 โครงการ S 1 2 3 4 Cash Flows - 1, 330 484 665.50 1,579.50 k = 10 % PV of TV 1,000 NPV = MIRR = % Terminal Value (TV)

134 โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
13 - 3 บทที่ 13 โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage 1. โครงสร้างของเงินทุนเป้าหมาย 2. ธุรกิจและความเสี่ยงทางการเงิน 3. การกำหนดโครงสร้างของเงินทุนที่เหมาะสม 4. ทฤษฎีโครงสร้างของเงินทุน 5. ข้อควรพิจารณาประกอบการตัดสินใจ เกี่ยวกับโครงสร้างของเงินทุน 6. โครงสร้างของเงินทุนที่แตกต่างกัน

135 1. โครงสร้างของเงินทุนเป้าหมาย
13 - 4 1. โครงสร้างของเงินทุนเป้าหมาย คือ การผสมผสานการใช้เงินทุนระหว่างหนี้สิน หุ้นบุริมสิทธิ์ และหุ้นสามัญที่กิจการกำหนด เป้าหมายไว้เพื่อการจัดหาเงินทุนในอนาคต

136 โครงสร้างของเงินทุนที่เหมาะสม
13 - 5 โครงสร้างของเงินทุนที่เหมาะสม โครงสร้างของเงินทุน ( การผสมผสานการใช้เงินทุนจากหนี้สิน หุ้นบุริมสิทธิ์ และหุ้นสามัญ ) ซึ่งทำให้ราคาหุ้นสามัญ (P0) สูงสุด โดยการแลกเปลี่ยนชดเชย (trade off) ระหว่าง E (ROE) และ EPS ที่สูงขึ้น พร้อมกับความเสี่ยง (risk) ที่สูงขึ้นด้วย

137 3. ความยืดหยุ่นในการจัดหาเงินทุน ความปลอดภัย กล้าได้กล้าเสีย
13 - 6 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเรื่องโครงสร้างของเงินทุน 1. ความเสี่ยงทางธุรกิจ 2. ภาษีของธุรกิจ 3. ความยืดหยุ่นในการจัดหาเงินทุน 4. ผู้บริหารถือหลัก ความปลอดภัย กล้าได้กล้าเสีย

138 2. ธุรกิจและความเสี่ยงทางการเงิน
13 - 7 2. ธุรกิจและความเสี่ยงทางการเงิน 1. ความเสี่ยงทางธุรกิจ 2. Operating Leverage 3. ความเสี่ยงทางการเงิน

139 คือ ( 1 ) ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk)
13 - 8 ความไม่แน่นอนของผลตอบแทนจากเงินทุนที่ใช้ ลงทุนทั้งหมด ( Return on Invested Capital “ ROIC ” ) ถ้ากิจการไม่มีหนี้สิน Capital = หนี้สิน + ส่วนของผู้เป็นเจ้าของ ROIC กรณีไม่มีหุ้นบุริมสิทธิ์ คำนวณได้ดังนี้ ROIC = NOPAT = NI to common stockholders + After-tax interest payments Capital

140 กรณีไม่มีหนี้สิน ROE = ROIC
13 - 9 กรณีไม่มีหนี้สิน ROE = ROIC ROIC = ROE = NI to common stockholders Common equity กรณีที่ไม่มีหนี้สินความเสี่ยงทางธุรกิจ วัดด้วยส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานของ ROE

141 ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อความเสี่ยงทางธุรกิจ
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อความเสี่ยงทางธุรกิจ 1. ความผันผวนของความต้องการสินค้า (ยอดขาย) 2. ความผันผวนของราคาขาย 3. ความผันผวนของราคาปัจจัยในการผลิต 4. ความสามารถในการปรับราคาขายสินค้า เมื่อราคาปัจจัยในการผลิตเปลี่ยนแปลงไป 5. ความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่โดยต้นทุนไม่สูง 6. ความเสี่ยงที่เกิดจากการค้าขายกับต่างประเทศ 7. ต้นทุนคงที่ของกิจการ

142 ( 2 ) Operating leverage Operating leverage คือ ต้นทุนคงที่ซึ่งเกิดขึ้น ในการดำเนินธุรกิจ ถ้าต้นทุนทั้งสิ้นเป็นต้นทุนคงที่ เมื่อความต้องการ สินค้าลดลงต้นทุนคงที่จะไม่ลดลงด้วย ทำให้ กำไรจากการดำเนินงานและผลตอบแทน ส่วนของผู้เป็นเจ้าของลดลง

143 ปริมาณ Output ซึ่งทำให้ ROE = 0
Operating Breakeven ปริมาณ Output ซึ่งทำให้ ROE = 0 หรือ EBIT = 0 EBIT = PQ - VQ - F = 0 QBE F = P - V สูตร

144 โครงการ A โครงการ B 13 - 17 Sales Rev. TC FC Profit พันบาท Loss
(พันหน่วย) EBIT = 0 40 60

145 ( 3 ) โครงสร้างของเงินทุนที่เหมาะสม
( 3 ) โครงสร้างของเงินทุนที่เหมาะสม คือ โครงสร้างของเงินทุนที่ WACC ต่ำสุด ซึ่งเป็น โครงสร้างของเงินทุนที่ราคาหุ้นสามัญ P0 สูงสุดด้วย การคำนวณโครงสร้างของเงินทุนที่เหมาะสมจึงคำนวณ โครงสร้างของเงินทุนที่ WACC ต่ำสุด เพราะง่ายกว่า

146 4. ทฤษฎีโครงสร้างของเงินทุน
4. ทฤษฎีโครงสร้างของเงินทุน 1. ผลของภาษี 2. ผลกระทบจากต้นทุนล้มละลาย 4. ทฤษฎีสัญญาณ 5. การใช้หนี้สินในโครงสร้างของเงินทุน ของผู้บริหารมีขีดจำกัด 3. ทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชย

147 ธุรกิจ แลกเปลี่ยนชดเชย แสดงรูปหน้าถัดไป
( 3 ) ทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชย (Trade - Off Theory) เกิดขึ้นใหม่ แลกเปลี่ยนชดเชย ธุรกิจ อัตราดอกเบี้ยและต้นทุน ล้มละลายที่สูงขึ้น ประโยชน์ที่ได้รับจากการ ใช้หนี้สิน ( ดอกเบี้ยจ่าย ทำให้ประหยัดภาษี ) แสดงรูปหน้าถัดไป

148 ( 4 ) ทฤษฎีสัญญาณ (Signaling Theory)
พัฒนาต่อจากทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชย ( 4 ) ทฤษฎีสัญญาณ (Signaling Theory) ความจริงผู้บริหารมีข้อมูลมากกว่าผู้ลงทุน ยกเว้นข้อสมมติข้อ 5 ผู้ลงทุนมีข้อมูลเกี่ยวกับอนาคต ของกิจการเท่ากับผู้บริหาร (Symmetric information)

149 คาดคะเนว่าอนาคตไม่ดี เพื่อให้ผู้ลงทุนรายใหม่
การที่ผู้บริหารมีข้อมูลดีกว่าผู้ลงทุนแสดงสัญญาณอะไร การจัดหา เงินทุนเพิ่ม สัญญาณ (Positive) คาดคะเนว่าอนาคตดี จะใช้หนี้สินเพราะ ไม่ต้องแบ่งผลกำไร ให้ผู้ลงทุนรายใหม่ สัญญาณ (Negative) คาดคะเนว่าอนาคตไม่ดี ออกหุ้นสามัญใหม่ เพื่อให้ผู้ลงทุนรายใหม่ ร่วมรับผลขาดทุนด้วย

150 ทฤษฎีสัญญาณมีผลกระทบต่อโครงสร้างของเงินทุน
ตอบ ข้อสมมติ ผู้บริหารมีข้อมูลเกี่ยวกับกิจการใน อนาคตมากกว่าผู้ลงทุนภายนอก การตัดสินใจของผู้บริหารจะคำนึงถึง ประโยชน์ที่ ผู้ถือหุ้นปัจจุบัน จะได้รับ

151 การแบ่งผลประโยชน์ให้ผู้ถือหุ้น : เงินปันผลและการซื้อหุ้นคืนมา
14 - 3 บทที่ 14 การแบ่งผลประโยชน์ให้ผู้ถือหุ้น : เงินปันผลและการซื้อหุ้นคืนมา 1. ผู้ถือหุ้นต้องการเงินปันผลกับกำไรส่วนทุน 2. ประเด็นนโยบายเงินปันผลอื่น ๆ 3. เงินปันผลสม่ำเสมอ 4. การกำหนดนโยบายเงินปันผลในทางปฏิบัติ 5. การนำเงินปันผลที่ได้รับมาลงทุนใหม่

152 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
คือ 14 - 5 การตัดสินใจจ่ายผลกำไรแก่ผู้ถือหุ้นหรือ นำมาลงทุนต่อในสินทรัพย์ต่างๆ กรณีจ่ายเงินปันผลแก่ผุ้ถือหุ้นต้องพิจารณาดังนี้ 1. จ่ายมากหรือน้อย 2. จ่ายสม่ำเสมอ หรือไม่สม่ำเสมอ 3. จ่ายบ่อยแค่ใหน 4. จะประกาศนโยบายนี้อย่างไร

153 1. ผู้ถือหุ้นต้องการเงินปันผลหรือกำไรส่วนทุน
14 - 6 ของธุรกิจ คือ ทำให้ผู้ถือหุ้นมีความมั่งคั่งสูงสุด การจ่ายเงินปันผลเท่าไร ต้องระลึกว่าเป้าหมาย D1 kS - g = P0 ^

154 เป้าหมายการจ่ายเงินปันผล ( Target Payout Ratio )
14 - 7 เป้าหมายการจ่ายเงินปันผล ( Target Payout Ratio ) อัตราร้อยละของกำไรสุทธิที่จ่ายเป็นเงินสดปันผล 1. ให้บริษัทจ่ายเงินสดปันผล 2. ให้บริษัทซื้อหุ้นคืนมา หรือ ลงทุนขยายกิจการ เพื่อให้ได้รับกำไรส่วนทุน ผู้ลงทุนชอบอะไร

155 หมายถึง ราคาหุ้นสามัญ สูงสุด
14 - 8 นโยบายเงินปันผลที่เหมาะสม หมายถึง ความสมดุลระหว่าง การจ่ายเงินปันผล ในปัจจุบัน อัตราการเจริญเติบโต ของบริษัทในอนาคต ราคาหุ้นสามัญ สูงสุด ผล

156 ผู้ลงทุนชอบอัตราการจ่ายเงินปันผลสูงหรือต่ำ มี 3 ทฤษฎี
ทฤษฎีเงินปันผล 14 - 9 1. Dividend Irrelevance ผู้ลงทุนไม่สนใจว่าจะจ่ายเงินปันผลเท่าไร 2. Bird - in - the - Hand : ผู้ลงทุนชอบอัตราการจ่ายเงินปันผลสูง 3. Tax Preference : ผู้ลงทุนชอบอัตราเงินปันผลต่ำแต่ชอบกำไรส่วนทุน

157 ทฤษฎีใดมีความถูกต้อง
การใช้ทฤษฎีทั้ง 3 ของผู้บริหาร สรุป ทฤษฎี การนำไปใช้จะกำหนด 1. Irrelevance 2. Bird - in - the - Hand 3. Tax Preference อัตราเงินปันผลเท่าไหร่ก็ได้ อัตราเงินปันผลสูง อัตราเงินปันผลต่ำ ทฤษฎีใดมีความถูกต้อง

158 8. หุ้นปันผลและการแบ่งหุ้น
8. หุ้นปันผลและการแบ่งหุ้น หุ้นปันผล การที่ธุรกิจออกหุ้นใหม่เพื่อจ่ายปันผลแทน เงินสด เช่น จ่ายหุ้นปันผล 10 % ผู้ถือหุ้น 100 หุ้น จะได้รับหุ้นปันผล 10 หุ้น การแบ่งหุ้น การเพิ่มจำนวนหุ้นที่อยู่ในมือบุคคลภายนอก เช่น 10 : 1 ทำให้ผู้ถือหุ้นมีจำนวนหุ้นมากขึ้น

159 การจัดการสินทรัพย์หมุนเวียน MANAGING CURRENT ASSETS
บทที่ 15 การจัดการสินทรัพย์หมุนเวียน MANAGING CURRENT ASSETS

160 การจัดหาเงินเพื่อลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน FINANCING CURRENT ASSETS
16 - 2 บทที่ 16 การจัดหาเงินเพื่อลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน FINANCING CURRENT ASSETS

161 สินทรัพย์หมุนเวียนขั้นต่ำ ที่ธุรกิจมีไว้เพื่อการ ดำเนินงานตามปกติ
16 - 4 1. นโยบายการจัดหาเงินเพื่อลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียนขั้นต่ำ ที่ธุรกิจมีไว้เพื่อการ ดำเนินงานตามปกติ สินทรัพย์หมุนเวียนที่ต้องการเพิ่มขึ้นเป็นการชั่วคราว เนื่องจากยอดขายเพิ่มขึ้น Permanent Current Assets VS Temporary Current Assets

162 2. Relatively Aggressive Approach
16 - 5 ธุรกิจเลือกใช้นโยบายลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียนได้ 3 แบบ 3. Conservative Approach 1. Maturity Matching (Self - Liquidating) Approach 2. Relatively Aggressive Approach

163 1. Moderate Approach (Maturity Matching)
บาท ปี สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์หมุนเวียน ที่ต้องการเพิ่มขึ้นชั่วคราว สินทรัพย์หมุนเวียนขั้นต่ำ หนี้สินหมุนเวียนไม่รวมหนี้สิน ที่เกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ หนี้สินระยะยาว + ส่วนของ ผู้เป็นเจ้าของ + หนี้สิน หมุนเวียนที่เกิดขึ้นเอง โดยอัตโนมัติ สินทรัพย์ ที่ต้องการ ใช้ในการ ดำเนิน งานขั้นต่ำ 1. Moderate Approach (Maturity Matching) 16 - 6

164 2. Relatively Aggressive Approach
บาท ปี สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์หมุนเวียน ที่ต้องการเพิ่มขึ้นชั่วคราว สินทรัพย์หมุนเวียนขั้นต่ำ หนี้สินหมุนเวียนไม่รวมหนี้สิน ที่เกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ หนี้สินระยะยาว + ส่วนของ ผู้เป็นเจ้าของ + หนี้สิน หมุนเวียนที่เกิดขึ้นเอง โดยอัตโนมัติ สินทรัพย์ ที่ต้องการ ใช้ในการ ดำเนิน งานขั้นต่ำ 16 - 7 2. Relatively Aggressive Approach

165 3. Conservative Approach
16 - 8 3. Conservative Approach หนี้สินหมุนเวียนไม่รวมหนี้สิน ที่เกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ หลักทรัพย์ เงินลงทุนชั่วคราว บาท สินทรัพย์ ที่ต้องการ ใช้ในการ ดำเนิน งานขั้นต่ำ หนี้สินระยะยาว + ส่วนของ ผู้เป็นเจ้าของ + หนี้สิน หมุนเวียนที่เกิดขึ้นเอง โดยอัตโนมัติ สินทรัพย์หมุนเวียนขั้นต่ำ สินทรัพย์ถาวร ปี


ดาวน์โหลด ppt บรรยายสรุป ประมวลความรู้วิชาการจัดการการเงิน Advanced Program อ. ดร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google