BLSC, Department of Livestock Development 12/8/2018 การเก็บตัวอย่างอาหารสัตว์นำเข้า เพื่อตรวจทางห้องปฏิบัติการ กองควบคุมอาหารและยาสัตว์ Division of Animal Feed and Veterinary Product Control
สินค้าที่ต้องอายัด DNA RUMINANT เมลามีนและสารกลุ่มเมลามีน เชื้อซัลโมเนลลา (Salmonella spp.) โปรตีน ไขมัน กาก ความชื้น เถ้า (Proximate) หรือสารประกอบหลักในอาหารสัตว์ ปริมาณเชื้อรา Aflatoxin กัมมันตภาพรังสี
สินค้าที่ไม่ต้องอายัด Mycotoxin โลหะหนัก ไดออกซิน แมลงปีกแข็งใน กาก DDGS
DNA RUMINANT - โปรตีนจากสัตว์ เช่น เนื้อและกระดูกป่น ผลพลอยได้จากสัตว์ปีกป่น ไข่ผง เลือดป่น เป็นต้น ที่ส่งออกจากประเทศที่มีรายงานการเกิดโรค BSE อายัดสินค้า ณ สถานที่ที่ผู้นำเข้าแจ้ง ส่งตรวจที่ห้อง lab จุฬาฯ หรือ ห้องปฏิบัติการกลาง หากพบจะดำเนินการส่งกลับหรือทำลาย
เมลามีนและสารกลุ่มเมลามีน โปรตีนจากพืช เช่น กลูเทนข้าวโพด เป็นต้น อาหารเสริมโปรตีน ที่มีส่วนผสมจากพืช ปลาป่น ผลพลอยได้จากหมึก นมและผลิตภัณฑ์นม ยีส แป้งสาลี *ประเทศในแถบเอเชีย เก็บ 100% *ประเทศในทวีปอื่นสุ่มเก็บ อายัดสินค้า ณ สถานที่ที่ผู้นำเข้าแจ้ง ส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการกลาง หากพบจะดำเนินการส่งกลับหรือทำลาย
เชื้อซัลโมเนลลา (Salmonella spp.) ในวัตถุดิบทุกชนิด ส่งตรวจห้องปฏิบัติการกลาง เกณฑ์มาตรฐาน : ห้ามพบ การดำเนินการ : 1. กำจัดเชื้อซัลโมเนลลาโดยวิธีต่างๆ เช่น * กรดอินทรีย์ (formic, acetic, propionic, lactic) * สารเคมี (formaldehyde) เมื่อกำจัดเชื้อแล้วให้เจ้าหน้าที่เก็บตัวอย่างตรวจอีกครั้ง 2. ส่งกลับอาหารสัตว์ (เมื่อไม่สามารถกำจัดเชื้อซัลโมเนลลาได้) 3. ทำลายอาหารสัตว์ (เมื่อไม่สามารถกำจัดเชื้อซัลโมเนลลาหรือส่งกลับได้) โดยวิธีการเผาหรือฝังอาหารสัตว์
โปรตีน ไขมัน กาก ความชื้น เถ้า (Proximate) - ในอาหารสัตว์ทุกชนิด ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ 2558 อายัดสินค้า ณ สถานที่ที่ผู้นำเข้าแจ้ง ส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการกลาง หากไม่เป็นไปตามที่ขึ้นทะเบียนไว้จะดำเนินการส่งกลับ
ปริมาณเชื้อรา ในวัตถุดิบทุกชนิด ไม่เกิน 1x105 โคโลนีต่อหนึ่งกรัม ในข้าวโพดป่น ไม่เกิน 5x105 โคโลนีต่อหนึ่งกรัม อายัดสินค้า ณ สถานที่ที่ผู้นำเข้าแจ้ง ส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการกลาง หากพบเกินมาตรฐานจะดำเนินการส่งกลับ
Aflatoxin กากถั่วเหลือง ไม่เกิน 50 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ปลาป่น ไม่เกิน 40 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ข้าวโพดป่น ไม่เกิน 100 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ข้าวโพดเมล็ด ไม่เกิน 100 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ข้าวสาลีเมล็ด ไม่เกิน 100 ไมโครกรัม/กิโลกรัม อายัดสินค้า ณ สถานที่ที่ผู้นำเข้าแจ้ง ส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการกลาง หากพบเกินมาตรฐานจะดำเนินการส่งกลับ
กัมมันตภาพรังสี - เฉพาะข้าวสาลีเมล็ด - ส่งตรวจสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ
การเก็บตัวอย่างตรวจกัมมันตภาพรังสี ต้องบรรจุถุงพลาสติกที่ปิดปากถุงสนิท และมีฉลากปิดเรียบร้อยทุกชิ้น โดยระบุชื่อตัวอย่าง, ชื่อบริษัท, วันที่ส่งตัวอย่าง, ขนาดน้ำหนักที่บรรจุ และรหัสสินค้า (Code No.) น้ำหนักสุทธิต่อตัวอย่าง ~ 1.5 กิโลกรัม
กัมมันตภาพรังสีที่ตรวจ (ตามมาตรฐาน EU) 1. CS-134 ไม่เกิน 1,250 Bq/kg 2. CS-137 ไม่เกิน 1,250 Bq/kg 3. I-131 ไม่เกิน 2,000 Bq/kg ค่าตรวจกัมมันตภาพรังสี 1,605 บาท/ตัวอย่าง ระยะเวลา ไม่เกิน 15 วัน
ขั้นตอนการส่งตัวอย่างตรวจกัมมันตภาพรังสี
แบบฟอร์มบันทึกการเก็บตัวอย่างของกรมปศุสัตว์
แบบคำขอรับบริการวัดกัมมันตรังภาพสีในตัวอย่างสินค้านำเข้า
ตัวอย่างหนังสือรับรองและรายงานผลวัดรังสี
ตัวอย่างหนังสือรับรองและรายงานผลวัดรังสี
สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ
สำนักงานใหญ่ เลขที่ 9/9 หมู่ที่ 7 ตำบลทรายมูล อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก 26120 โทรศัพท์ 02-401-9889 ต่อ 1142 โทรสาร 037-392907 www.tint.or.th สาขาย่อยบางเขน One-Stop Service 16 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-401-9889 ต่อ 5990 สายตรง 02-5790743 โทรสาร 02-5790220 Call Center 02-4019885 หรือ 02-4019889 ต่อ 5995 www.tint.or.th
สินค้าที่ไม่ต้องอายัด ส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการ ส.ต.ส. Mycotoxin โลหะหนัก ไดออกซิน ส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการ ส.ต.ส. 4. แมลงปีกแข็งใน กาก DDGS
การเฝ้าระวังแมลงปีกแข็งที่อาจปนเปื้อนมากับ กาก DDGS นำเข้าจากต่างประเทศ มาตรการ ตรวจทางกายภาพร่วมกับกรมวิชาการเกษตร ณ ด่านท่าเข้า เก็บตัวอย่างส่งตรวจ โดยกรมวิชาการเกษตร
การเก็บตัวอย่าง จะมีการตรวจสอบทุกขั้นตอน ตั้งแต่การยื่นแจ้งการนำเข้า จนถึงการถอนอายัด รวมถึงการส่งกลับหรือทำลายอาหารสัตว์ปลอมปน
การเฝ้าระวังแมลงปีกแข็งที่อาจปนเปื้อนมากับ กาก DDGS นำเข้าจากต่างประเทศ มาตรการ ตรวจทางกายภาพร่วมกับกรมวิชาการเกษตร ณ ด่านท่าเข้า เก็บตัวอย่างส่งตรวจ
Thank you for your attention