งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี 26 มิถุนายน 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี 26 มิถุนายน 2560"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี 26 มิถุนายน 2560
การเก็บและนำส่งตัวอย่าง ปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณไอโอดีน ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี 26 มิถุนายน 2560

2 Out line สิ่งสำคัญในการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ คำแนะนำในการเก็บและนำส่งตัวอย่าง การเก็บและนำส่งตัวอย่างปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณไอโอดีน

3 การวางแผนในการเก็บตัวอย่าง
กำหนดเชื้อหรือสารที่ต้องการตรวจวิเคราะห์ ชนิดตัวอย่าง/ช่วงเวลาการเก็บเหมาะสม วิธีการเก็บตัวอย่างถูกต้อง ปลอดภัย ปริมาณพอเพียงและอาหารนำส่ง ข้อควรระวัง/ปัจจัยที่มีผลต่อการตรวจวิเคราะห์/เกณฑ์การปฏิเสธตัวอย่าง

4 การวางแผนในการเก็บตัวอย่าง (ต่อ)
การนำส่ง/บรรจุตัวอย่างได้ถูกต้อง/ส่งพร้อมแบบนำส่งตัวอย่างตามที่กำหนด นำส่งไปยังห้องปฏิบัติการรวดเร็ว/กรณีส่งไม่ได้มีการรักษาสภาพเหมาะสม เลือกห้องปฏิบัติการที่สามารถตรวจวิเคราะห์ได้ - ประสานงานการส่งตรวจตัวอย่าง/ การรายงานผล/ ค่าใช้จ่าย

5 บทบาทของไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์
ไอโอดีนมีบทบาทสำคัญต่อการเจริญของระบบประสาท ของทารกตั้งแต่ในครรภ์จนถึง 2 ขวบ หญิงตั้งครรภ์ต้องการไอโอดีนมากกว่าคนปกติ ทารกต้องการไอโอดีนในการผลิตไทรอยด์ฮอร์โมน หญิงตั้งครรภ์ที่มีการกำจัดไอโอดีนทางไตเพิ่มขึ้น

6 การเก็บและนำส่งตัวอย่าง
( 0.5 % sodium hypochlorite) ( 0.5 % sodium hypochlorite) กระปุกเก็บปัสสาวะพันด้วยพาราฟิล์ม ระบุ ชื่อ-สกุล และลำดับที่ตัวอย่าง นำกระปุกตัวอย่างใส่ในถุงซิบ ใบนำส่งตัวอย่างใส่นอกกล่อง พร้อมส่ง ศวก.ที่ 8 อุดรธานี บรรจุตัวอย่างที่แพ็กเสร็จแล้ว ลงในกล่องโฟม ที่มี ice pack

7 การบรรจุตัวอย่าง บรรจุตัวอย่างลงในภาชนะที่ปิดมิดชิด เหมาะสม
ห้าม ไม่ให้ตัวอย่าง มีการลอยบนน้ำแข็ง

8 การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง
การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง ปัสสาวะ อย่างน้อย 10 มิลลิลิตร (ใส่ในกระปุกเก็บปัสสาวะ ปิดฝากระปุกให้แน่นสนิทพันด้วยพาราฟิล์ม) เขียน ชื่อ-สกุล และ ลำดับที่ตัวอย่าง ของหญิงตั้งครรภ์ให้เรียบร้อย นำ กระปุกตัวอย่างใส่ในถุงซิบหรือถุงพลาสติก (หนึ่งตัวอย่างต่อหนึ่งถุง) ปิดปากถุงซิบหรือถุงพลาสติกให้สนิทเพื่อป้องกันตัวอย่างปัสสาวะหกเปรอะเปื้อน

9 การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง (ต่อ)
การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง (ต่อ) การเก็บรักษาตัวอย่างปัสสาวะรอส่ง - เก็บที่ อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส ส่งภายใน 24 ชั่วโมง - เก็บที่ อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส (ช่องแช่แข็ง) (เก็บที่ช่องแช่แข็งได้จนกว่าจะจัดส่ง หากไม่สามารถนำส่ง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี ได้ภายใน 24 ชั่วโมง)

10 การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง (ต่อ)
การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง (ต่อ) การนำส่งตัวอย่างไปที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี ควรแช่เย็น ตลอดการนำส่ง กำหนดส่งตัวอย่าง ทุกวันอังคาร/พุธ ทุกสัปดาห์ ในเวลาราชการ หรือโทรประสานงานการส่งตัวอย่าง กับผู้ประสานงานของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี

11 ค่าใช้จ่ายและระยะเวลาการรายงานผล
   ระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์ - ระยะเวลา 14 วันทำการ การรายงานผลการวิเคราะห์ - รายงานผลเป็นค่า Unit ค่าตรวจวิเคราะห์ บาท/ตัวอย่าง

12 แนวทางการส่งตัวอย่างปัสสาวะ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี
รพสต. โรงพยาบาล, สสจ. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี

13 เอกสารสำหรับการนำส่งตัวอย่าง
แบบนำส่งตัวอย่างปัสสาวะในหญิงตั้งครรภ์ ทะเบียนคุมการเก็บตัวอย่าง (ใบสรุปจำนวนตัวอย่างที่ส่งทั้งหมด)

14 แบบฟอร์ม นำส่งตัวอย่าง
ใส่ลำดับที่ตัวอย่างให้ตรงกับแบบฟอร์มคุมการเก็บตัวอย่าง

15 แบบฟอร์ม ทะเบียนคุมการเก็บตัวอย่าง

16 การนำส่งตัวอย่าง กระปุกบรรจุตัวอย่างปิดให้สนิทพันด้วยพาราฟิล์ม ติดป้าย ชื่อ-สกุล และลำดับที่ตัวอย่าง หญิงตั้งครรภ์ นำส่งแบบแช่เย็น ใส่ ice pack แนบจดหมายจากหน่วยงานและแบบส่งตัวอย่างปัสสาวะในหญิงตั้งครรภ์

17 การนำส่งตัวอย่าง (ต่อ)
บรรจุใส่กล่องโฟม/กระติกที่มี ice pack / แยกใบนำส่งตัวอย่าง

18 การตรวจไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์
จัดส่งรายงานผล จัดพิมพ์รายงาน ตรวจวิเคราะห์ตามกระบวนการ ลงทะเบียนเข้าระบบ ตรวจเช็คความถูกต้องของตัวอย่างกับใบนำส่ง 18

19 วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์
ด้วยวิธี Modified microplate method Standards Urine QC Blank 250 μl 250 μl 250 μl 250 μl

20 วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์
ด้วยวิธี Modified microplate method (ต่อ) Ammonium persulfate solution 1 ml 1 mol/L Urine Standards QC Blank 91-95 °C

21 วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์
ด้วยวิธี Modified microplate method (ต่อ) สารละลายที่ย่อยแล้ว 50 μl Arsenic acid solution 100 μl

22 วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์
ด้วยวิธี Modified microplate method (ต่อ)

23 วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์
ด้วยวิธี Modified microplate method (ต่อ) Ceric ammonium sulfate solution 30 min ; RT

24 วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์
ด้วยวิธี Modified microplate method (ต่อ) 405 nm

25 ข้อควรระวัง/ปัจจัยที่มีผลต่อการตรวจวิเคราะห์
การปิดฝาภาชนะบรรจุไม่สนิททำให้เกิดการรั่วไหล และปนเปื้อน มีผลกระทบด้านความปลอดภัยและผลต่อระดับปริมาณไอโอดีน ชื่อ-สกุล ของตัวอย่างไม่ตรงกันกับใบนำส่ง ระบุลำดับตัวอย่างให้ชัดเจน (ภาชนะบรรจุ แบบนำส่ง และแบบฟอร์มทะเบียนคุม) ปริมาณตัวอย่างน้อยกว่า 10 มล.

26 ข้อควรระวัง/ปัจจัยที่มีผลต่อการตรวจวิเคราะห์
5. ตัวอย่างมีราขึ้น การเก็บรักษาตัวอย่างปัสสาวะรอส่ง - เก็บที่ อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส ส่งภายใน 24 ชั่วโมง - เก็บที่ อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส (ช่องแช่แข็ง) - เก็บตัวอย่างไว้ไม่เกิน 7 วัน 6. แจ้งประสานงานก่อนส่งตัวอย่างพร้อมรายชื่อผู้ประสานงานชัดเจน

27 สถานที่ส่งตัวอย่าง ตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มชันสูตรสาธารณสุข ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี 54 ม.1 ต.หนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี โทรศัพท์ ต่อ 106, 108, 110 โทรสาร 27

28 ผู้ประสานงาน ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี
1. นางสาววิภาภรณ์ วิชน นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร 2. นายสุพัฒชัย ปราบศัตรู นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร 3. นางบุญนิภา สุวรรณกาล นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ โทร , Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี 26 มิถุนายน 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google