งานอาชีวอนามัย รพ.อ.ป.ร.
ผ่านการประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยง จากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ระดับ 5 ปี 2555 ครั้งที่ 1 ปี 2557 ครั้งที่ 2 ( reaccreditation) โดย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
นโยบาย งานอาชีวอนามัย รพ.อ.ป.ร มุ่งมั่นที่จะดำเนินการให้มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อความปลอดภัยและความผาสุกของผู้ป่วยเจ้าหน้าที่ และผู้มาเยือน โดยจะดำเนินงานให้สอดคล้องตามกฎหมาย และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง รวมถึงลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆ ต่อสุขได้รับการปรับปรุงแก้ไขตั้งแต่แรกเริ่ม สนับสนุนระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพและกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ระบบบริหารจัดการเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ระบบสาธารณูปโภคมีความเพียงพอและพร้อมใช้ และแผนรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน สื่อสารนโยบายและกิจกรรมสิ่งแวดล้อมให้แก่เจ้าหน้าที่
นโยบาย งานอาชีวอนามัย รพ.อ.ป.ร แผนงาน คณะทำงาน : ENV IC HRD RM คณะกรรมการ – ยังไม่มี
แผนงานอาชีวอนามัย รพ.อ.ป.ร งานเฝ้าระวังสุขภาพบุคลากร ตรวจร่างกายก่อนเข้างาน ตรวจขณะทำงาน : ตรวจตามความเสี่ยงของงาน ตรวจตามความเสี่ยงกลุ่มอายุ ตรวจเมื่อกลับเข้าทำงานหลังจากป่วย ตรวจหลังเกษียณอายุในข้าราชการ งานเวชกรรมป้องกัน งานเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในการทำงาน งานสอบสวนอุบัติการณ์ของอุบัติเหตุ และการเจ็บป่วยจากการทำงานที่รุนแรง หรือเสี่ยงต่อการระบาด
1. งานเฝ้าระวังสุขภาพบุคลากร 11i1.การตรวจประเมินความเสี่ยงของบุคคลากร เป้าหมาย 2554 2555 2556 2557 1.1 ตรวจร่างกายก่อนเข้างานตามลักษณะงาน 100 1.2 ตรวจร่างกายประจำปี > 90 88.4 90.5 92.5 97.3 1.3 ตรวจร่างกายตามความเสี่ยงของลักษณะงาน - ตรวจการได้ยิน ( 7 หน่วย ) - ตรวจสายตา (ทุกหน่วย ) - ตรวจสารกัมตรังสี( 2 หน่วย ) - ตรวจประเมินความเครียดจากการทำงาน > 70 80 - 46.3 60.1 62.9 1.4 ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 8.6 17.1 26.3 78.5 1.5 ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 23.1 54.1 1.6 ตรวจร่างกายเพื่อกลับเข้างานหลังจากเจ็บป่วย
ร้อยละบุคลากรที่มาตรวจร่างกายประจำปี KPI 2553 2554 2555 2556 2557 >95% 91.01 88.46 90.57 91.52 97.32 ตรวจร่างกาย 2557 จำนวน ร้อยละ 1 โรคอ้วน BMI > 30 92 9.09 2 นน.เกินระดับ 2 BMI >25-30 281 27.77 3 นน.เกินระดับ 1 BMI > 23-25 186 18.38 4 รวมที่ผิดปกติ BMI > 23 559 55.24 5 รอบเอวเกินมาตรฐาน 389 38.44 6 รอบเอวเกินมาตรฐาน + BMI ผิดปกติ 294 29.05 7 ความดันสูง > 140/95 218 21.54 8 มีความเสี่ยงความดันสูง 141 13.93
2557 การตรวจเลือดในอายุ >35 ปี 2557 การตรวจเลือดในอายุ >35 ปี จำนวน ร้อยละ 9 เบาหวาน FBS > 126 51 7.65 10 น้ำตาลในเลือดผิดปกติ 145 21.74 11 Chol > 200 461 69.12 12 TG > 500 1.65 13 Liver ผิดปกติ 31 4.65 14 CXR ผิดปกติ 1 สรุปปัญหาสุขภาพ น้ำหนักเกิน ไขมันในเส้นเลือดสูง ความดันสูง HPH
69.12 27.77 18.38 9
อัตราการเกิดประสาทหูเสื่อมจากการสำรวจปี 2546-2547 เท่ากับ 7.8% โครงการอนุรักษ์การได้ยิน ในบุคลากร จัดหาอุปกรณ์เพื่อป้องกันเสียง ทั้งปลั๊กลดเสียง และครอบหูลดเสียง ซ่อมบำรุงเครื่องจักรเพื่อให้เสียงที่เกิดจากเครื่องจักรไม่เกินมาตราฐาน (75db.) ลดจำนวนช่วงเวลาที่ต้องทำงานกับเครื่องจักรที่มีเสียงดัง เปลี่ยนงานในกรณีที่เกิดความเสื่อมของประสาทหูแล้ว โดยPCT ศัลยกรรม (หู-คอ-จมูก) ประสาทหูเสื่อม 2548 เพิ่มขึ้น 0.8% 2549 เพิ่มขึ้น 0.5% 2550 ไม่เพิ่ม 2551 ไม่ได้ตรวจ 2552 2553 2554 2555 2556 2557
PHP /ฝ่ายบุคลากร ร่วมกับ PCT จิตเวช ทำการสำรวจ ตัวอย่างที่ 8 RAH พบจำนวนบุคลากรมีความเครียดจากการทำงาน 348 ราย (ร้อยละ 34.38) PHP /ฝ่ายบุคลากร ร่วมกับ PCT จิตเวช ทำการสำรวจ แบบประเมินความเครียด กรมสุขภาพจิต ( ST5 ) ทำการสำรวจ จำนวน 45 หน่วย จำนวนบุคลากร 637 นาย จากทั้งหมด 1012 นาย คะแนน ST - 5 จำนวน 8 28 9 17 10 15 11 12 5 13 คะแนน 8- 15 ส่ง PCT – จิตเวช ทำกิจกรรมต่อไป
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 2554 2555 2556 2557 คน % จนท.สตรี 654 657 650 653 สตรีตามเกณฑ์ 372 56.88 382 58.14 369 56.76 414 63.4 ได้รับการตรวจ 32 8.6 65 17.01 97 26.28 325 78.5 ปฏิเสธการตรวจ 340 91.4 317 82.99 272 73.72 85 21.5 ผลผิดปกติ 1 ราย PCTสูตินารีเวชกรรม
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน จนท.สตรี > 40 ปี 253 ได้รับการตรวจ 137 ผลผิดปกติ 33 ส่ง Excision 3 Follow up 3 ด. Follow up 6 ด. 13 Follow up 1 ปี 14 PCTศัลยกรรม
การตรวจคัดกรองสายตาบุคลากร ได้รับการตรวจสุขภาพตา พ.ศ. วิชาชีพ วินิจฉัย การเปลี่ยนแปลง 2555 พยาบาล HT c Eye complication ย้ายมา OPD 2555-2556 จำนวน ร้อยละ จนท.รพ.อ.ป.ร. 1036 ได้รับการตรวจสุขภาพตา 631 60 ไม่มารับการตรวจ 405 VA ปกติ 586 80 VA ผิดปกติ 145 20 PCT ศัลยกรรม (จักษุ)
จำนวนบุคลากรที่ป่วยต่อปี แยกตามปีพ.ศ.
มีการประเมินสุขภาพบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับสภาพหรือลักษณะของงาน ( ก่อนเข้าทำงานหรือ หายป่วยกลับเข้าทำงาน หรือเมื่อเปลี่ยนงาน ) พ.ศ. วิชาชีพ วินิจฉัย การเปลี่ยนแปลง 2548 พยาบาล SLE เปลี่ยนเป็นทำงานเอกสาร ผู้ช่วยพยาบาล SLE c CRF 2550 นายสิบพยาบาล Arrthymia CRF s/p Renal Transplant 2551 HT in the young เปลี่ยนงานที่ไม่มีเวรแปด ย้ายมา OPD 2552 CA Breast ทำงานเอกสารช่วงเคมีบำบัด จนท.พยาธิ CACX CVA กายภาพ อนุมัติเกษียณก่อนอายุ นายทหาร
ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ความเสี่ยงเรื่องกายศาสตร์ พบลำดับต้นๆ PHP ฝ่ายบุคลากรได้จัดโครงการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ บ่ายวันพุธ ผลตอบรับ มีผู้สนใจและได้ประโยชน์ มากกว่า 200 ราย /วัน ขยายผล ลงสู่การยืดเหยียดทุกเช้าที่ OPD ร่วมกับผู้ป่วย
มีการประเมินสุขภาพบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับสภาพหรือลักษณะของงาน ( ก่อนเข้าทำงานหรือ หายป่วยกลับเข้าทำงาน หรือเมื่อเปลี่ยนงาน ) พ.ศ. วิชาชีพ วินิจฉัย การเปลี่ยนแปลง 2553 นายทหาร CVA กายภาพ อนุมัติเกษียณก่อนอายุ นายสิบพยาบาล CA liver พักงาน เสียชีวิต 2555 2554 ลูกจ้างประจำ HIV เปลี่ยนทำงานฝ่ายสนับสนุน ผู้ช่วยพยาบาล CA ovary ย้ายward พิเศษ เสียชีวิต 2555 พยาบาล CA Breast เปลี่ยนทำงานวิชาการ นายทหารห้องศพ TB พักงานผ่าศพ 4 เดือน 2555 HT c Eye complication ย้ายมา OPD TB c Pleural effusion พักงาน, งดเวรแปด
มีการประเมินสุขภาพบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับสภาพหรือลักษณะของงาน ( ก่อนเข้าทำงานหรือ หายป่วยกลับเข้าทำงาน หรือเมื่อเปลี่ยนงาน ) พ.ศ. วิชาชีพ วินิจฉัย การเปลี่ยนแปลง 2556 พยาบาล Contact Dermatitis (Latex induce) จัดหาถุงมือเฉพาะ Suspected TB 2557 ผู้ช่วยพยาบาล Vaccine induce Vasculitis สอบสวนโรค โดยสหสาขา รายงานผ่าน สสจ. และสธ. เปลี่ยนงานเอกสาร DRG แพทย์ CA liver ลาป่วย CA Breast
งานเวชกรรมป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ มีการให้ภูมิคุ้มกันตามความเสี่ยงของงาน VACCINE กลุ่มเป้าหมาย หมายเหตุ TT พลเปล Hepatitis B vaccine RN, PN, กลุ่มเสี่ยง PN AIDS ฉีดก่อนเข้างาน Influenza vaccine ฝ่ายรักษาพยาบาล / พลเปล ฝ่ายสนับสนุน ลำดับแรก ลำดับรอง Chicken pox รพ.สนับสนุน ปี 2553
งานเวชกรรมป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรม ป้องกัน กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ อบรมความรู้ ข้าราชการ และบุคลากรใหม่ IC , HRD มหกรรม IC ฝ่ายรักษา 100 % IC , PCT ENV round หน่วยงาน 100% ENV Walk through survey กวป. ยืดเหยืยดกน.บ่ายวันพุธ ทุกหน่วยงาน HPH กิจกรรม ควบคุมโรค กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ มาตรการ IC เมื่อเกิดอุบัติเหตุของมีคมทิ่มตำ ผู้ประสบเหตุ IC สอบสวนโรค ผู้ที่สงสัย IC , SRRT
งานเวชกรรมป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ มีการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยแก่ผู้ปฏิบัติงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง พ.ศ. เนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ วิทยากร ทุกปี อบรมการใช้ PPE และ ระบบ IC สายแพทย์ IC อบรมการคัดแยกขยะ ทุกหน่วยงาน อบรมอาชีวอนามัย ENV อบรมอัคคีภัย 2557 ลดพุง ลดโรค BMI > 25 อ.สง่า ดามาพงษ์ ใส่หมวกนิรภัย 100% ขับขี่ปลอดภัยทางถนน 100% กวป.
มีการแจ้งผลการตรวจสุขภาพแก่บุคลากรเป็นรายบุคคล และให้คำแนะนำ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสุขภาพในรายที่จำเป็น การแจ้งผลตรวจประจำปี กองตรวจโรคมีใบแจ้งให้มาพบแพทย์ GP กรณีผลตรวจร่างกายผิดปกติ รายบุคคล ผลตรวจผิดปกติรุนแรง + CXR ผิดปกติ รายหน่วยงาน โดยเฉพาะหน่วยสนับสนุน การให้คำแนะนำ รายบุคคล counselling กรณีเกี่ยวเนื่องกับการทำงาน จะลงไปพบและให้คำแนะนำทั้งหน่วยงานเช่น TB ที่จนท.การศพ จัดเวทีความรู้ด้านสุขภาพ : อบรมงานอาชีวอนามัย, อบรมงานIC, งานวิชาการต่างๆ เช่น ลดพุง-ลดโรค จัดกิจกรรม : ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ, มหกรรมIC
2. งานเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมการทำงาน .การตรวจประเมินความเสี่ยงของสิ่งแวดล้อมในการทำงานและสำรวจสิ่งคุกคาม (work through survey) เป้าหมาย 2554 2555 2556 2557 2.1 ประเมินความเสี่ยงตามแบบ RAH 01 2 ครั้ง/ปี 1 2 2.2 ตรวจแสงสว่างในทุกหน่วยงาน ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน ผ่าน ไม่ผ่าน 11 หน่วย 2.3 ตรวจความดังของเสียง < 85 dz. 2.4 ตรวจคุณภาพอากาศและNO2 ตกค้าง ในห้องผ่าตัด NA 2.5 ตรวจคุณภาพน้ำดื่ม 2.6 ตรวจอุณหภูมิ 2.6 ตรวจคุณภาพน้ำประปา 2.7 ตรวจคุณภาพอาหาร
การตรวจสภาพอากาศ และระบายอากาศในที่ทำงาน ผลการตรวจประเมิน จะแสดงผลในการประชุมในแต่ละคณะกรรมการ ENV ,IC ,PHP ,HRD กรณีที่คณะกรรมการคิดว่าสำคัญ ก็จะเสนอในการประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ HA เพื่อรับทราบ และรับแนวทางการแก้ปัญหา ข้อจำกัด การตรวจสภาพอากาศ และระบายอากาศในที่ทำงาน การตรวจสมรรถภาพปอด
ผลการเฝ้าระวังความเสี่ยงของสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ตรวจพบ การควบคุมแก้ไขโดยการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กร และผู้บริหาร ตัวอย่างที่ 1 RAH.01 พบจำนวนบุคลากรที่ได้รับผลกระทบจากเสียงดัง 11 หน่วยงาน 217 ราย แก้ไข ENV ทำการตรวจความดังของเสียง ----- ผ่านทั้งหมด ตัวอย่างที่ 2 การประเมินโครงการ 5 ส.ไม่ผ่าน แก้ไข การประกวดกิจกรรม 5 ส. กรณีคณะกรรมการENV แนะนำให้หน่วยปรับปรุง คณะกรรมการ จะไปประเมินซ้ำ ภายใน 1 ด. ตัวอย่างที่ 3 สถานที่ทำงาน แสงสว่างไม่เพียงพอ สอบสวน นโยบายประหยัดพลังงานในหน่วยงาน มีการถอดหลอดไฟออก เพื่อประหยัด พลังงาน แก้ไข เสนอผู้บริหาร นโยบายเปลี่ยนเป็นหลอดไฟฟ้าแบบประหยัด ทั้งรพ.เพื่อความสว่าง และประหยัดพลังงานหลังมีการเปลี่ยนหลอดไฟแล้ว ทีมตรวจความสว่าง (กวป.) จะ ตรวจซ้ำ-----ผ่าน
ผลจากงานเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ตัวอย่างที่ 4 ปัญหาเรื่องความเสี่ยงทางชีวภาพเช่น หนูในที่ทำงาน แก้ไข ปรับสภาพห้องอาหาร และการจัดการขยะอาหารสด ประสานกองเวชกรรมป้องกัน ทักษะการดักจับหนู ตัวอย่างที่ 5 ปัญหาอาการร้อนมาก ในช่วงฤดูร้อน ในห้อง CMS, ซักฟอก, โภชนา การแก้ปัญหา -หมุนเปลี่ยนจนท. -อยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง ในระยะเวลาให้น้อยที่สุด -ให้ความรู้จนท.เพื่อป้องกันอันตรายจากอุณหภูมิที่สูง เช่น การดื่มน้ำ การเช็ดตัว การอาบน้ำ
ปัญหา ห้องLAB ปัญหา การแก้ไข การระบายอากาศไม่ดีพอ มีความเสี่ยงในการเกิดปัญหาด้านสารเคมี (Acetone alc. และสีย้อม ) ตู้ Biosafety level 2 ไม่ได้สอบเทียบ และบำรุงรักษา ไม่มีตู้เตรียมสารเคมี สาร Hydrochloric HCL สารละเหย ไม่มีห้องเก็บเสมหะ การแก้ไข ระยะสั้น เน้น การใช่ PPE ระยะยาว ขออนุมัติติดตั้งตัวดูดอากาศ ( HOOD ) ย้ายห้องLab
3. งานสอบสวนเมื่อเกิดการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยรุนแรง เป้าหมาย 2554 2555 2556 2557 3.อุบัติการณ์การสอบสวนอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทำงานระดับรุนแรง ทุกครั้ง - 1 2 ทีมสอบสวนโรค ประกอบด้วย SRRT IC ENV
อุบัติเหตุจากการทำงาน
การเจ็บป่วยจากการทำงาน 2557
แนวทางปฏิบัติสำหรับการตรวจวินิจฉัยโรคจากการทำงานของบุคลากร ผู้ปฏิบัติ หน.หน่วย แพทย์ทั่วไป, ER พยาบาล HRD, IC, PCT ? สงสัยโรคจาการทำงาน ? GP แพทย์ผ่านการอบรมทางอาชีวเวชศาสตร์ รวมปรึกษา แพทย์เฉพาะทาง ให้การวินิจฉัย
ตัวอย่างบุคลากรรพ.อ.ป.ร. การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน
รายที่ 1 : นายทหาร หน้าที่ผ่าศพ รายที่ 1 : นายทหาร หน้าที่ผ่าศพ ไอ 1 เดือนน้ำหนักลด 3 กก.ใน 1 เดือน CXR pulmonary TB , AFB ++ สอบสวน บุคคล : กลับมาสูบบุหรี่ +ไม่ใส่ PPE ตามมาตรฐาน สถานที่ทำงาน : อยู่ในมาตรฐาน การดำเนินการ รายงานIC เน้นย้ำ ตักเตือน ตรวจผู้ร่วมงาน โดย CXR คัดกรอง
รายที่ 2 : ผู้ช่วยพยาบาลผื่นตามตัว รายที่ 2 : ผู้ช่วยพยาบาลผื่นตามตัว ผื่น 2 ตามตัว รุนแรงขึ้นใน 2 สัปดาห์ ทำการรับป่วย ปรึกษา dermatologist Dx : vascilitis แพทย์ซักประวัติ เริ่มเกิดผื่นหลังฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ 3-4 วัน Rx : skin Biosy สอบสวน ระยะเวลาการเกิด สัมพันธ์กับการฉีดวัคซีน dermatologist ยืนยันการวินิฉัย รายงานผู้ดูแลโปรแกรมวัคซีน สสจ.ลพบุรี ผ่านทาง IC สสจ.ลพบุรี ร่วมสอบสวนโรค รายงานต่อระดับสูง การดำเนินการ รายงานการสอบสวนในส่วนที่เกี่ยวข้อง เปลี่ยนงาน
ตัวอย่างการสอบสวนโรคจากการทำงาน ผู้ช่วยพยาบาล : ผื่นที่ลำตัวดูรุนแรงผิดปกติ IC+SRRT สอบสวนโรค อาจสัมพันธ์กับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ แพทย์รักษา HRD ร่วมพิจารณาเปลี่ยนตำแหน่งงาน แพทย์ผิวหนัง Dx : Vasculitis Rx : Skin Biosy รายงานสธ. เข้าร่วมประเมิน
รายที่ 3 : พยาบาลมีผื่นคันที่มือ รายที่ 3 : พยาบาลมีผื่นคันที่มือ สอบสวน เป็นเวลาสัมผัส Surgical glove การดำเนินการ ปรึกษา dermatologist เพื่อยืนยันการวินิจฉัย ระยะแรก ใส่ถุงมือจากพลาสติกที่ไม่แพ้ก่อนชั้นแรก ระยะยาว จัดหาถุงมือที่ไม่แพ้ ไม่เปลี่ยนงาน
ตัวอย่างการสอบสวนโรคจากการทำงาน พยาบาล ICU เป็นผื่นคันที่มือ Dermatologist วินิจฉัยแพ้ latex ถุงมือ รายงานผ่าน ทีมอาชีวอนามัย + HRD ระยะสั้น ใช้ถุงมือธรรมดาใส่ก่อนใส่ถุงมือผ่าตัด ประสานเภสัชจัดหาถุงมือที่ไม่แพ้ พิจารณาย้ายหน้าที่ถ้าไม่ดีขึ้น
รายที่ 4 : จนท.ธุรการ โดดไฟรั้ว จากประตูอลูมิเนียมที่พึ่งทำเสร็จ รายที่ 4 : จนท.ธุรการ โดดไฟรั้ว จากประตูอลูมิเนียมที่พึ่งทำเสร็จ เขียน RM ส่ง ENV 1 แจ้ง ยย. 4 ชม. ปิดไฟ มีการเจาะโดนสายไฟ ซ่อม เปิดใช้ 6 ชม. สอบสวน
จำนวนวันลา ต่อบุคลากร แยกตามปีพ.ศ.
การพัฒนา 2558 ตั้งคณะกรรมการอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมในการทำงาน พยาบาลอาชีวอนามัย จป.เทคนิคชั้นสูง