การขับเคลื่อนค่านิยมMOPHสู่การปฏิบัติ โครงการพัฒนาคุณธรรมบุคลากรสสจ
“คน” คือทุกสิ่งทุกอย่าง คือทรัพย์สินอันทรงคุณค่า ที่มีความสำคัญ ต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวขององค์กร
ตอบตนเอง ท่านเป็นคนรุ่นไหน อย่างไร รุ่น Baby Boomer Generation รุ่น Generation X รุ่น Generation Y หรือ Gen Net ร่น Generation Z
“การเรียนรู้กับบุคลากรรุ่นใหม่ นอกจากจะได้ความรู้เท่าทันวิทยาการแล้ว ยังช่วยให้เข้าใจวิธีคิด ค่านิยมของคนรุ่นใหม่”
ประเด็นการประชุมวันนี้ - ทบทวนค่านิยมร่วมของสสจ.ร้อยเอ็ด ให้เข้าใจตรงกัน - ความสอดคล้องของค่านิยมสสจ.รอ.กับค่านิยมร่วม MOPH - การกำหนดพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย - แนวทางการประเมิน - การวางแผนดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมาย P-D-C-A
ค่านิยมของสสจ.ร้อยเอ็ด R : Respect ให้ความเคารพนับถือตนเองและผู้อื่น O : Openness เปิดเผยโปร่งใส ตรวจสอบได้ I : Intensity มีความซื่อสัตย์ มั่นคง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน E : Efficiency มีประสิทธิภาพ T : Teamwork ทำงานเป็นทีม + : Plus พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ผลจากการประชุมกลุ่มย่อย ๒.สามัคคี : //๑.ทำงานเป็นทีม ////ประสิทธิภาพ / ๒.ซื่อสัตย์ : //เปิดเผย โปร่งใส ตรวจสอบได้ /๑.ตรงต่อเวลา ////ปิยะวาจา /นับถือตนเอง / ‘ซื่อสัตย์ สามัคคี’
เสนอ ๑ พฤติกรรม มี ๔ กลุ่ม เสนอ ๒ พฤติกรรม มี ๓ กลุ่ม เสนอ ๓ พฤติกรรมมี ๓ กลุ่ม
MOPH MASTERY: เป็นนายตนเอง คำนิยาม เป็นบุคคลที่หมั่นฝึกฝนตนเองให้มีศักยภาพ ยึดมั่นในความถูกต้อง มีวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบ บนพื้นฐานของการมีสำนึก รับผิดชอบ คุณธรรมและจริยธรรม
“ในการดำเนินชีวิตของเรา เราต้องข่มใจไม่กระทำสิ่งใดๆที่เรารู้สึกด้วยใจจริงว่าชั่ว ว่าเสื่อม เราต้องฝืน ต้องต้านความคิดและความประพฤติทุกอย่าง ที่รู้สึกว่าขัดกับธรรมะ เราต้องกล้าและบากบั่นที่จะกระทำสิ่งที่เราทราบว่าเป็นความดี เป็นความถูกต้อง และเป็นธรรม ถ้าเราร่วมกันทำเช่นนี้ให้ได้จริงๆ ให้ผลของความดีบังเกิดมากขึ้นๆ ก็จะช่วยค้ำจุนส่วนรวมไว้มิให้เสื่อมลงไปและจะช่วยให้ฟื้นคืนดีขึ้นได้เป็นลำดับ” พระราชดำรัส พระราชทานเพื่อเชิญไปอ่าน ในพิธีเปิดการประชุมยุวพุทธิกสมาคมทั่วประเทศ ครั้งที่๑๒จ.พระนครศรีอยุทธยา ๑๒ ธค.๒๕๑๓
MOPH ORIGINALITY: เร่งสร้างสิ่งใหม่ คำนิยาม สร้างสรรค์นวัตกรรม/สิ่งใหม่ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อระบบสุขภาพ
“..........การพยายามศึกษาวิทยาการและเทคโนโลยีอันก้าวหน้า ทุกสาขาจากทั่วโลก แล้วเลือกสรรส่วนที่สำคัญ เป็นประโยชน์ นำมาปรับปรุงใช้ให้พอดีพอเหมาะกับสภาพและฐานะของประเทศเรา เพื่อช่วยให้ประเทศของเราสามารถนำเทคโนโลยีอันทันสมัยมาใช้พัฒนางานต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่สิ้นเปลือง.....” ความตอนหนึ่งในพระบรมราโชวาท ในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินเปิดงานพระจอมเกล้าลาดกระบังนิทรรศน์ ๒๖ ณ สถาบันพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคูทหาร ลาดกระบัง ๒๖ มิย.๒๕๒๖
MOPH PEOPLE CENTERED: ใส่ใจประชาชน คำนิยาม ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางในการทำงาน เพื่อประโยชน์อันดีแก่ประชาชน โดยใช้หลัก “เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้”
“..ฉันต้องการให้หมอช่วยไปดูแลบำบัดทุกข์ให้แก่นักเรียนและประชาชนที่อยู่ในท้องถิ่นกันดารห่างไกลหมอ และจะออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมดตามความจำเป็น โดยให้จัดหน่วยเคลื่อนที่ไปโดยรถยนต์และตระเวนไปตามถนนหนทาง ตามหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลชนบท” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตรัสแก่ทันตแพทย์สี สิริสิงห์ ทันตแพทย์ประจำพระองค์
MOPH HUMILITY: ถ่อมตนอ่อนน้อม คำนิยาม มีสัมมาคารวะ มีน้ำใจ ให้อภัย รับฟังความเห็น เสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
“ในวงสังคมนั้นเล่า ท่านจะต้องรักษามารยาท อันดีงามสำหรับสุภาพชน รู้จักสัมมาคารวะ ไม่แข็งกระด้าง มีความอ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอ พร้อมจะเสียสละประโยชน์ส่วนตัวเพื่อส่วนรวม” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕ มิย.๒๔๙๖
M O P H ซื่อสัตย์ สามัคคี
ความสำเร็จขององค์กรร้อยละ๓๐ เกิดจากการปฏิบัติตามค่านิยมองค์กร ร่วมกันน้อมนำพระราชดำรัสมาเป็นแนวทางในการส่งเสริมค่านิยมองค์กร เพื่อสานพลัง ขับเคลื่อน ประเทศไทยไปสู่เป้าหมายสูงสุด “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”
-การกำหนดพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย -การประเมินผล เครื่องมือ วิธีการประเมิน
ระบบคุณธรรม มีหลักสำคัญ ๔ ประการ ๑.หลักความเสมอภาค คือ ความเสมอภาคในโอกาสเข้าทำงาน ความเสมอภาคในค่าตอบแทน ความเสมอภาคในการปฏิบัติงานในเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน ๒.หลักความสามารถ ๓.หลักความมั่นคง ๔.หลักความเป็นกลางทางการเมือง
คุณค่าความเป็นมนุษย์ 5 ประการ 1. ความรักความเมตตา (Love) 2. ความจริง (Truth) 3. ความสงบสุข (Peace) 4. ความประพฤติชอบ (Right conduct) 5. อหิงสา / การไม่เบียดเบียนกัน (Non violence) อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา, 2550
แผน๒๐ปีกระทรวงสาธารณสุข เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน ค่านิยม (Core Values) MOPH
เป้าหมาย ๑ ปี ดัชนีความสุขของคนทำงานและการนำค่านิยมไปใช้ ร้อยละ ๕๐ ๕ ปี ดัชนีความสุขของคนทำงานและการนำค่านิยมไปใช้ ร้อยละ ๘๐ ๒๐ปี ดัชนีความสุขของคนทำงานและการนำค่านิยมไปใช้ ร้อยละ ๑๐๐
การประเมิน - ITA - Happy Work Life Index - Happy Workplace Index - Happinometer - องค์กรคุณธรรม ฯลฯ
แนวทางการดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมาย การสื่อสาร การนำไปปฏิบัติ..........จนเป็นตัวตน เป็นวัฒนธรรมองค์กร การบูรณาการกับ.. แผนฯ๒๐ปีกระทรวงฯ แผนของสสจ.ร้อยเอ็ด ฯลฯ
แผนยุทธศาสตร์กาพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมกระทรวงสาธารณสุขพศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรคุณธรรมอย่างยั่งยืนในปี๒๕๖๔” เป้าหมายหลัก ๑.บุคลากรกระทรวงฯได้รับการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมทุกระดับและทุกพื้นที่ มีบุคคลต้นแบบเป็นที่ยอมรับ ๒.หน่วยงานของกระทรวงฯทุกแห่งได้รับการพัฒนาเป็นหน่วยงานคุณธรรม ๓.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนคุณธรรมจริยธรรม ๔.ประชาชนได้รับบริการที่ดีมีคุณธรรม
ตัวชี้วัด ๑.ร้อยละ๑๐๐ของบุคลากรในหน่วยงานได้รับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ๒.ร้อยละ๘๐ของบุคลากรในหน่วยงานมีความสุขในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น ๓.ร้อยละ๑๐๐ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงฯได้รับการพัฒนาเป็นหน่วยงานคุณธรรม ๔.ร้อยละ๑๐๐ของเขตบริการสุขภาพมีหน่วนงานคุณธรรมต้นแบบ ๕.ร้อยละ๘๐ของประชาชนที่มารับบริการมีความพึงพอใจ/มากขึ้น
ยุทธศาสตร์ ๑.พัฒนาบุคลากรสาธารณสุขให้เป็นคนดีมีคุณธรรมและมีความสุข บนฐานการบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ กลยุทธ์ ๑.๑ น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต ๑.๒ สร้างและพัฒนาบุคลากรให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมและองค์กรอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ๒.สร้างและพัฒนาหน่วยงานในกระทรวงฯให้เป็นองค์กรคุณธรรม กลยุทธ์ ๒.๑ สร้างและพัฒนาหน่วยงานให้เป็นหน่วยงานคุณธรรม ๒.๒ สร้างผู้นำหน่วยงานและเสริมส้างแกนนำแบบอย่างในการบริหารที่เน้นการพัฒนาองค์กรคุณธรรมอย่างมีส่วนร่วม ๒.๓ สร้างทีมแกนนำแบบกัลยาณมิตรเพื่อขับเคลื่อนการเสริมสร้างองค์กรคุณธรรม ๒.๔ พัฒนาองค์ควารู้ด้านการพัฒนาองค์กรคุณธรรมและทักษะการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ ๓.เสริมสร้างความสามารถและสัมพันธภาพที่ดีกับเครือข่ายให้เกิดพันธะสัญญาในการขับเคลื่อนองค์กรคุณธรรม กลยุทธ์ ๓.๑พัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่ายและการขยายความร่วมมือกับภาคส่วนอื่นๆ ๓.๒สร้างนวตกรรมด้านการพัฒนาองค์กรคุณธรรม ๓.๓พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการพัฒนาองค์กรคุณธรรมทั้งบุคคล องค์กรต้นแบบ องค์กรสนับสนุนทรัพยากรการเรียนรู้ การพัฒนา และการเข้าถึงข้อมูลอย่างเป็นระบบ
แนวทางการดำเนินงานหน่วยงานคุณธรรม ๖ ขั้นตอน ๖ป(ศ.เกียรติคุณ นพ.เกษม วัฒนชัย) ๑.ปลุกความคิดให้ทุกคนเห็นความสำคัญ(พูด คุย บรรยาย ดูงาน) ๒.ประมวลพฤติกรรมเจ้าหน้าที่๑)ที่พึงประสงค์ ๒)ที่ไม่พีงประสงค์ จากทุกคนทุกระดับและสรุปร่วมกัน ๓.เปลี่ยนจากพฤติกรรมเป็นคุณธรรม๓ประการ ๔.แปลง จากคุณธรรม๓ประการเป็นพฤติกรรมบ่งชี้ในระดับต่างๆ/จัดทำโครงงานคุณธรรม ๕.ประกาศ ปฏิญาณก่อนลงมือปฏิบัติ/จัดตลาดนัดความดี ๖.ประเมินผล จากการสอบถามพฤติกรรมบ่งชี้เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณจากความสุขเจ้าหน้าที่ จากความพึงพอใจของประชาชน
ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานหน่วยงานคุณธรรม ๑.หน่วยงานประชุมชี้แจงนโยบายและหาจุดร่วม(คุณธรรม๓ประการ)ที่บุคลากรทุกคนตกลงยึดเป็นข้อปฏิบัติในการนำไปพัฒนาหน่วยงานคุณธรรม ๒.ดำเนินการระดับ๑ และ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ และจัดทำแผนเสริมสร้าง/พัฒนาหน่วยงานคุณธรรม ๓.ดำเนินการระดับ๒และหน่วยงานดำเนินการตามแผนเสริมสร้าง/พัฒนาหน่วยงานคุณธรรม
ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานหน่วยงานคุณธรรม ระดับ ๔.ดำเนินการระดับ๓และหน่วยงานมีผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนการเสริมสร้าง/พัฒนาหน่วยงานคุณธรรม ๕.ดำเนินการระดับ๔ และหน่วยงานมีการประเมินผลและปรับปรุงแผนการดำเนินการเสริมสร้าง/พัฒนาหน่วยงานคุณธรรม
P A D C
๑.รับรู้ พูดเปรี้ยง ทำเปรี้ยง ๒.แขวนไว้ก่อน อย่าเพิ่งตัดสิน ๓. พิจารณาอย่าง สงบลึก ๔. Presence = สติ ๕. พูดหรือทำผ่านปัญญา ไม่เกิดปัญญา (กิเลส) ทฤษฎีรูปตัวยู(U Theory) ของ Otto Scharmer
รหัสพัฒนา GCK สู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียง G (good) ความดี C (community,culture) วัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน K (knowlege) ความรู้ (ประเวศ วะสี,๒๕๔๙)
การผสานความคิดสร้างสรรค์ มุ่งมั่นร่วมใจ พัฒนาความร่วมมือ สิ่งที่ได้มากกว่าผลงาน คือ ความภาคภูมิใจร่วมกันและความผูกพันต่อองค์กร
ฉันต้องการความสุข ฉัน คือ ตัวเราของเรา(ego)คือการยึดมั่นถือตน ดังนั้น ถ้าขจัดตัว “ฉัน”ออกไป ก็จะได้ความสุข “ต้องการ” คือ ต้นเหตุแห่งความทุกข์ เพราะจิตใจคือกองกิเลส อยากได้ไม่สิ้นสุด เมื่อเราตัดออกไปได้ทั้ง ๒ คำ คือ “ฉัน” และ “ต้องการ” เราก็จะมีแต่คำว่า “ความสุข” เพียงอย่างเดียว
Work-life Balance ความสมดุล ชีวิตการทำงาน ชีวิตส่วนตัว ตนเอง ครอบครัว
๓.ลงมือทำ Hand ๒.ปรับระบบ วิธีคิด Head มีสติ เกิดปัญญา ตั้งเป้าหมาย สื่อสาร ร่วมเรียนรู้ KM/LO ๑.มุ่งมั่น ตั้งใจ ความรู้สึกเป็นกุศล รักและเมตตา Heart
สวัสดี