การจัดการธุรกรรมการเบิกจ่าย และระบบข้อมูลบริการสาธารณสุขสิทธิ อปท การจัดการธุรกรรมการเบิกจ่าย และระบบข้อมูลบริการสาธารณสุขสิทธิ อปท. National Clearing House : NCH สำนักบริหารการกองทุน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 3 นครสวรรค์
บทบาทของ สปสช.ในการดำเนินการสิทธิ อปท. ผู้โอนเงิน สิทธิ อปท. สถานพยาบาลรัฐ ทุกแห่ง / รพ.เอกชนตามเงื่อนไขที่กำหนด สปสช. 1 ต.ค.56
การจัดทำธุรกรรมการเบิกจ่ายสิทธิ พนักงานส่วนท้องถิ่น (อปท.)
สรุปผลการดำเนินการ จังหวัด โรงพยาบาล รพ.สต. กำแพงเพชร 12 11 ชัยนาท 8 หน่วยเบิกจ่ายตรง อปท. ข้อมูล ณ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2560 จังหวัด โรงพยาบาล รพ.สต. กำแพงเพชร 12 11 ชัยนาท 8 10 นครสวรรค์ 17 34 พิจิตร 69 อุทัยธานี 9 รวม 57 133
สิทธิในการเบิกค่ารักษาพยาบาล สิทธิ อปท. ครอบคลุมการเจ็บป่วยทุกกรณี แต่ไม่รวมถึงการเสริม ความงาม สามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของ ทางราชการ ได้ทุกแห่งทั่วประเทศ สามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของ เอกชนได้ตามเงื่อนไขที่กระทรวงการคลังกำหนด (สิทธิข้าราชการ) หรือกระทรวงมหาดไทยกำหนด(สิทธิ อปท.) การตรวจสุขภาพประจำปี (Health Screening) เฉพาะผู้มีสิทธิ(ข้าราชการ, ลูกจ้างประจำ, ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ) ตรวจสุขภาพได้ปีละ 1 ครั้ง (ตามปีงบประมาณ) สิทธิของผู้มีสิทธิและบุคคลในครอบครัวครอบคลุมการเจ็บป่วยในทุกกรณี ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นสามารถเบิกจากทางราชการได้ แต่ไม่รวมถึงการเสริมความงาม เช่น การจัดฟัน การศัลยกรรมเพื่อการเสริมสวยกรณีต่างๆ ผู้มีสิทธิและบุคคลในครอบครัวสามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการได้ทุกแห่งทั่วประเทศ ไม่จำเป็นต้องลงทะเบียนเลือกสถานพยาบาลเพียง ๑ แห่ง เหมือนอีก ๒ กองทุน ผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวสามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนได้ในกรณี ดังต่อไปนี้ การเข้ารับการรักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยในโรคที่ต้องนัดผ่าตัดล่วงหน้า ในโรงพยาบาล ๓๑ แห่ง ที่เข้าร่วมโครงการกับกรมบัญชีกลาง การเข้ารับการรักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอกกรณีโรงพยาบาลรัฐส่งไปฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม หรือฉายรังสีในผู้ป่วยมะเร็ง การเข้ารับการรักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยในกรณี เจ็บป่วยฉุกเฉินตามนโยบาลรัฐบาล การจ่ายเงินประเภทผู้ป่วยนอกสถานพยาบาลของทางราชการใช้ระบบ Fee for service ผู้ป่วยในใช้ DRGs การจ่ายเงินประเภทผู้ป่วยในสถานพยาบาลของเอกชน ใช้ DRGs การจ่ายเงินประเภทผู้ป่วยนอกสถานพยาบาลของเอกชน ใช่อัตราระบบ Fee for service แต่ไม่เกินเพดานที่กำหนด
การเข้ารับบริการและวิธีปฏิบัติสิทธิอปท. 1.กรณีผู้ป่วยนอก แบ่งออกเป็น 3 กรณีดังนี้ 1.1 ลงทะเบียนจ่ายตรง ในโปรแกรม NHSO Client สิทธิเกิดทุก 15 วัน แต่ สามารถใช้สิทธิได้ทันทีโดยขอเลข อนุมัติ การส่งข้อมูลเบิกจ่าย ส่งในโปรแกรม e-Claim 1.2 กรณีอุบัติเหตุ ฉุกเฉินผู้ป่วยนอก ในโปรแกรม NHSO Client ขอเลขอนุมัติ ใช้สิทธิได้ทันที การส่งข้อมูลเบิกจ่าย ส่งใน โปรแกรม e-Claim 1.3 กรณีจ่ายเงินเอง สามารถใช้ใบเสร็จเบิกได้โดย (กรณีรับ บริการที่ไม่มีใน รพ. เข่น MRI เป็นต้น) อปท. : เบิกต้นสังกัด สปสช.(โปรแกรมหน้า web)
การเข้ารับบริการและวิธีปฏิบัติสิทธิ อปท. 2.กรณีผู้ป่วยใน ต้องขอเลขอนุมัติทุกราย 2.1 ขอเลขอนุมัติ ในโปรแกรม NHSO Client 2.2 กรณีใช้หนังสือรับรองสิทธิจากต้นสังกัด ต้องนำหนังสือรับรองสิทธิมาขอเลขอนุมัติในโปรแกรม NHSO Client แล้วจึงบันทึกเลขอนุมัติที่ได้ใน โปรแกรม e-Claim
โปรแกรมที่เกี่ยวข้องในการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. กรณี โปรแกรม ลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง NHSO Client ขอเลขอนุมัติ (IP และ OPAE) ขออนุมัติใช้ยาราคาแพง (ยามะเร็ง 6 ชนิด รูมาติก และสะเก็ดเงิน) Prior Authorization การเบิกค่ารักษาผู้ป่วยใน โปรแกรม e-Claim การเบิกค่ารักษาผู้ป่วยนอก การเบิกกรณีเบิกเพิ่มต่างๆ กรณีฟอกเลือดล้างไต อปท. >> โปรแกรม DMISHD HN และเลขอนุมัติต้องตรงกัน ขอก่อนใช้งาน แนะนำให้ส่งมากกว่า 1 ต่อเดือน สิทธิข้าราชการกรณีอื่นๆ เช่น รพ.เอกชนรักษารังสีรักษา และ Elective Case ยังคงเป็นระบบเดิม
ระยะเวลาการส่งข้อมูล สิทธิอปท. 1. ออกREP ทุกจันทร์ พุธ ศุกร์ เหมือนสิทธิUC 2. หลังจากนั้นภายใน 30 วัน หน่วยบริการจะได้รับการโอนเงิน หมายเหตุเฉพาะผู้ป่วยใน 1.ข้อมูลที่ส่งช้า 1 เดือน หากไม่เกิน 5 % ของจำนวนข้อมูลที่ส่งทั้งหมดจะถือว่าส่งทัน 2. ส่งช้า 1 เดือน ปรับลด 5% 3. ส่งช้า 2 เดือน ปรับลด 10% 4. ส่งช้ามากกว่า 2 เดือน ปรับลด 20% กรณีผู้ป่วยนอก ไม่คิดข้อมูลล่าช้า
อัตราจ่าย อปท. กรณีผู้ป่วยนอก จ่ายตามที่เรียกเก็บ (Fee for service) หรือตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด 2. กรณี Additional payment จ่ายตามราคาที่กำหนด หรือ Price list ของแต่ละ รพ. 3. กรณีผู้ป่วยใน จ่ายตาม Adj.rw*Base rate ของ รพ. โดย กรมบัญชีกลางจะแจ้ง Base rate ให้ทราบตาม ระดับของกลุ่ม รพ. ส่วนกรณีโรคมะเร็ง Adj.rw*ccuf +ค่ายามะเร็ง
หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง สิทธิ อปท.
หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง LGO หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง การปรับอัตราค่าบริการสาธารณสุข หมวดที่ 6, 7 เปลี่ยนแปลงอัตราค่าบริการสาธารณสุข หมวดที่ 6 ค่าบริการโลหิต และส่วนประกอบโลหิต และ 7 ค่าบริหารตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์และพยาธิวิทยา เบิกจ่ายได้ทั้งระบบใบเสร็จและในระบบเบิกจ่ายตรง โดยอัตราจ่ายใหม่นี้ มีผลบังคับใช้กับการรักษาพยาบาลตั้งแต่ 1 ม.ค. 2561 เป็นต้นไป การเบิกในระบบเบิกจ่ายตรงให้สถานพยาบาลระบุรหัสรายการทั้งประเภท IP และ OP ตั้งแต่ 1 ต.ค. 2559 เป็นต้นไป ว 393 ลว 10 ต.ค.60
หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง LGO หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง การปรับอัตราค่าบริการสาธารณสุข หมวดที่ 15 เปลี่ยนแปลงอัตราค่าบริการสาธารณสุข หมวดที่ 15 ค่าบริการฝังเข็มและค่าบริการการให้การบำบัดของผู้ประกอบโรคศิลปะอื่น เบิกจ่ายได้ทั้งระบบใบเสร็จและในระบบเบิกจ่ายตรง โดยอัตราจ่ายใหม่นี้ มีผลบังคับใช้กับการรักษาพยาบาลตั้งแต่ 1 ม.ค. 2559 เป็นต้นไป การเบิกในระบบเบิกจ่ายตรงให้สถานพยาบาลระบุรหัสรายการ ทั้งประเภท IP และ OP ตั้งแต่ 1 ต.ค. 2559 เป็นต้นไป ว 447 ลว 12 พ.ย.58
หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง LGO หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยที่รับไว้เป็นผู้ป่วยในตั้งแต่ 1 ม.ค.59 ให้เบิกค่ายากลับบ้านแยกต่างหากจาก DRGs โดย ยาที่ใช้รักษาต่อเนื่องเพื่อให้ร่างกายกลับสู่ภาวะปกติ เช่น กลุ่มยาวัณโรค ให้ส่งเบิกเฉพาะส่วนที่เกินกว่า 2 สัปดาห์ขึ้นไป ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับยาโรคเรื้อรัง เช่น ยาเบาหวาน ความดัน และผู้ป่วยเคยได้รับมาก่อน admit ให้ส่งเบิกค่ายากลับบ้านได้ การเบิกจ่ายกรณียา กลับบ้าน การเบิกจ่ายกรณีนอนนาน กรณีผู้มีสิทธิ ที่ใช้หนังสือรับรองสิทธิ ให้สถานพยาบาลนำหนังสือรับรองสิทธิ มาขอเลขอนุมัติในระบบ และใช้เลขอนุมัติที่ได้ประกอบการเบิก แทนหนังสือรับรองสิทธิ การใช้เลขอนุมัติแทนหนังสือรับรองสิทธิ - ผู้ป่วยที่จำหน่ายตั้งแต่ 1 ม.ค.59 เป็นต้นไป หากเข้ารับการรักษาเป็นเวลา 270 วัน ให้ รพ.ดำเนินการส่งเบิกค่ารักษาพยาบาล โดยดำเนินการเสมือนเป็นการจำหน่ายออกจาก รพ. และการรักษาภายหลังจากนั้นให้ถือเสมือนว่าเป็นการรับเป็นผู้ป่วยในใหม่ - ผู้ป่วยที่นอนนานเกิน 365 วัน ที่จำหน่ายตั้งแต่ 1 เม.ย.2559 เป็นต้นไป ไม่ถือเป็น case ORS ว 182 ลว 29 เม.ย.59
หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง LGO หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง อัตราค่าบริการสาธารณสุข หมวดที่ 13 ค่าบริการทางทันตกรรม -เพิ่มรายการ 11 รายการ,เพิ่มอัตราค่าบริการ 46 รายการ ,เพิ่มอัตราฟันเทียมและอุปกรณ์ 6 รายการ -ยกเลิกรายการค่าบริการ 10 รายการ -เบิกจ่ายได้ทั้งระบบใบเสร็จและระบบเบิกจ่ายตรง -มีผลบังคับใช้กับการรักษาพยาบาลตั้งแต่ 1 ต.ค. 2559 เป็นต้นไป การเบิกในระบบเบิกจ่ายตรงให้สถานพยาบาลระบุรหัสรายการทั้งประเภท IP และ OP ตั้งแต่ 1 ต.ค. 2559 เป็นต้นไป ว 246 ลว 16 มิ.ย.59
เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. ผู้ป่วยนอก เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. 1 ผู้ป่วยต้องลงทะเบียนตามสถานพยาบาล มากกว่า 1 แห่งก็ได้ จ่ายได้ทุกกรณี ยกเว้น เสริมสวย *กรณีใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติต้องบันทึกเหตุผลในการใช้ยา (EA-EF) (EFต้องจ่ายเงินเพราะผู้มีสิทธิประสงค์ขอใช้เอง) 1. กรณีเบิกจ่ายตรง สิทธิร่วมข้าราชการกรมบัญชีกลาง/อปท. ตรวจสุขภาพประจำปี ของผู้ใช้สิทธิร่วม อปท. อุปกรณ์/รายการรักษาที่ไม่มีใน รพ. เช่น MRI เป็นต้น 2. กรณีใช้ใบเสร็จ เบิกต้นสังกัด จ่ายตามที่เรียกเก็บ หรือตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด อัตราจ่าย
เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. ผู้ป่วยใน 2 เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. จ่ายตามระบบDRGs 1. ผู้ป่วยในทั่วไป เหมาจ่ายวันละ 400 บาท+ค่ายา+ค่าตรวจในหมวด 7,8,9 ทำ d/c ก่อนโดยต้องขอเลขอนุมัติใหม่ บันทึกรหัสโครงการพิเศษ =HOSPIC 2. กรณีพักรอจำหน่าย จ่ายตามที่เรียกเก็บ มีหนังสือรับรองจากต้นสังกัด บันทึกรหัสโครงการพิเศษ =INJDTO 3. กรณีเจ็บป่วยจากการปฏิบัติราชการ
เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. ผู้ป่วยใน 2 เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. จ่ายตามระบบDRGs (จ่ายตามที่คำนวณ DRG และหักจากส่วนที่เบิกจากสิทธิอื่นออกก่อนจ่ายชดเชย) กรณี 1)-บันทึกรหัสโครงการพิเศษ = SSSOBS กรณี 2)-บันทึกรหัสโครงการพิเศษ = HD3995 กรณี 3)-4) บันทึกรหัสโครงการพิเศษ = SSSPC 4. กรณีค่ารักษาส่วนเกินของสิทธิประกันสังคม ให้เบิกส่วนต่างเฉพาะกรณี ได้แก่ 1) คลอดบุตร เบิกส่วนเกิน 13,000 บาท 2) ค่าล้างไต (ส่วนเกิน 1,500 บาท) 3) การเบิก vascular access ซ้ำภายใน 2 ปี 4) ทำฟันส่วนเกินจากค่าอุดฟัน ขูดหินปูน และถอนฟัน ที่เกินจาก 600 บาท/ปี
เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. ผู้ป่วยใน 2 เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. -แยกเบิกจากแม่ -ให้ผู้มีสิทธิ (พ่อหรือแม่) กรอกแบบฟอร์มรับรองสถานะบุตร นำไปขอเลขอนุมัติ -ขอเลขอนุมัติโดยแบบฟอร์ม 7141 รับรองสถานะบุตรร่วมกับ HN AN ของเด็ก -กรณีเด็กไม่มี PID ให้ใช้ PID ของผู้มีสิทธิ (พ่อหรือแม่) ร่วมกับ HN AN ของเด็ก และรหัสโครงการพิเศษ บันทึกรหัสโครงการพิเศษ=Z38000 จ่ายตามระบบ DRGs 5. กรณีเด็กแรกเกิด หักจำนวนเงิน พรบ.ตามที่ รพ. บันทึก -บันทึกข้อมูล ในช่อง พรบ./ชำระเงินเอง 6. กรณี พรบ.ผู้ประสบภัยจากรถ HN และเลขอนุมัติ ต้องตรงกัน ถ้ามี PID แล้ว เบิกตามปกติ
เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. Additional payment เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. 3 เงื่อนไขการจ่ายยา PA ทั้ง 3 กลุ่ม 1. บันทึกขออนุมัติใช้ยาในโปรแกรม Prior-Authorize 1. กลุ่มยาที่ต้องขออนุมัติก่อนการใช้ยา ได้แก่ 1.1 กลุ่มยาโรคมะเร็ง ประกอบด้วย 1) Imatinib (Glivec) 4) Erlotinib (Tarceva) 2) Rituximab (Mabthera) 5) Trastuzumab (Herceptin) 3) Gefitinib (Iressa) 6) Bevacizumab (Avastin) 2. บันทึกเบิกค่าใช้จ่ายในโปรแกรม e-Claim 1.2 กลุ่มยาโรครูมาติก ประกอบด้วย 1) Etanercept 2) Infliximab 3) Rituximab ใน 3 กลุ่มโรค คือ 1) Ankylosing Spondylitis และRheumatoid Arthritis 2) Juvenile Idiopathic Arthritis 3) Psoriasis Arthritis 3. จ่ายตาม Price List ของแต่ละรพ. 1.3 กลุ่มยาโรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) ใน Moderate to severe Psoriasis 2 รายการ คือ 1) Etanercept 2) Infliximab
เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. Additional payment เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. 3 ต้องเป็นผู้ป่วยที่มีประวัติทำ KT มาก่อน บันทึกเบิกในโปรแกรม e-Claim จ่ายตาม Price List ของแต่ละรพ. 2. KT Rejection ประกอบด้วย 1) Rituximab 2) IVIG 3) ATG ใช้ตามข้อบ่งชี้ บันทึกเบิกค่าใช้จ่ายในโปรแกรม e-Claim จ่ายตามPrice List ของแต่ละรพ. 3. ยาที่ใช้ตามข้อบ่งชี้ จ 2 1) IVIG 2) ATG จ่ายตาม Price List ของแต่ละรพ. 4. กรณี Thrombolytic 1) Stroke 2) STEMI 5. ค่าพาหนะรับส่งต่อ - บันทึกเบิกค่าใช้จ่ายในโปรแกรม e-Claim - จ่าย 500 บาท+กม.ละ 4 บาท(ไป-กลับ)
เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. ฟอกเลือดล้างไต 4 เงื่อนไขการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. ข้อ 1.1 จ่ายครั้งละ 2,000 บาท ข้อ 1.2 จ่ายตามเรียกเก็บ ข้อ 1.3-1.5 จ่ายตามที่กระทรวงการคลังกำหนด บันทึกโปรแกรม DMIS (HD) 1 กรณีผู้ป่วยนอก 1.1 ค่าฟอกเลือด 1.2 ค่ายาและสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือด ได้แก่ Erythropoietin , Parenteral , Albumin , IV iron 1.3 ค่าเลือดและอุปกรณ์การให้เลือด 1.4 ค่าสายและการสวนสาย Double lumen 1.5 ค่า Lab & X-ray ที่เกี่ยวข้องกับการฟอกเลือด ช้อ 2.1 บันทึกเบิกในโปรแกรม e-Claim ข้อ 2.2 และ 2.3 2. กรณีผู้ป่วยใน 2.1 ค่าบริการผู้ป่วยใน และรายการอุปกรณ์ 2.2 ค่าฟอกเลือด 2.3 Erythropoietin
เงื่อนไขสำหรับสิทธิ อปท. การเบิกจ่ายรายการอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ที่มีค่าใช้จ่ายสูง ในรายการดังต่อไปนี้ -รหัสรายการ 1201 เครื่องกระตุ้นสมองผ่านประสาทสมองเส้นที่สิบ (Vagal nerve stimulator) พร้อมอุปกรณ์ ราคาชุดละ 900,000 บาท -รหัสรายการ 1202 ชุดเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าของสมองส่วนลึก (Deep Brain Stimulation set) ราคาชุดละ 800,000 บาท - รหัสรายการ 2405 ชุดประสาทหูเทียม (Cochlear implant)/ชุดประสาทหูเทียมชนิดฝังที่ก้านสมอง (Brainstem implant) ราคาชุดละ 850,000 บาท ให้สถานพยาบาลส่งสำเนาเวชระเบียน และเอกสารที่เกี่ยวข้องมายัง สปสช. เพื่อพิจารณาอนุมัติการใช้ก่อนการให้บริการแก่ผู้ป่วย
โปรแกรมที่มีการปรับเปลี่ยน
โปรแกรม e-Claim สิ่งที่แก้ไขและเพิ่มเติมในโปรแกรมเวอร์ชัน 2.05 สิ่งที่แก้ไขและเพิ่มเติมในโปรแกรมเวอร์ชัน 2.05 1. เพิ่มการแก้ไขกรณี e-Appeal สิทธิประกันสังคม 2. แก้ไขเรื่องการเรียงลำดับ ICD10/ICD9 และการคำนวณ DRG บางรายการ 3. เพิ่มเงื่อนไขหากบันทึกประเภทโรครองเป็น 4 อื่นๆ (other) ให้ผ่านการตรวจสอบ ไม่ติด C802 4. แก้ไขเงื่อนไขการนำเข้าข้อมูล 16 แฟ้ม โดยจะไม่นำเข้าค่า ยาที่มาจากฟิลด์ totcopay ของแฟ้ม DRU 5. ยกเลิกการตรวจสอบ C550 กรณีแก้ไข e-Appeal เปลี่ยนเป็นไม่ใช้สิทธิของ OP Refer 6. เพิ่มเงื่อนไขการบันทึกกรณี บริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการ แพทย์สำหรับผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลันและไม่เฉียบพลัน (SNAP) สำหรับหน่วยบริการในเขตนครสวรรค์ เขตราชบุรี และเขตสงขลา เท่านั้น เพิ่มหน้าที่เปลี่ยนแปลงตัวอย่าง e- Claim ต้อง update ทุกสิทธิ
โปรแกรม e-Claim สิ่งที่แก้ไขและเพิ่มเติมในโปรแกรมเวอร์ชัน 2.05 (ต่อ) สิ่งที่แก้ไขและเพิ่มเติมในโปรแกรมเวอร์ชัน 2.05 (ต่อ) หมายเหตุ หน่วยบริการทุกแห่งจะต้อง update โปรแกรมเวอร์ชัน 2.05 หากไม่ update ตั้งแต่วันที่ 20 พฤษภาคม 2560 เป็น ต้นไป ระบบจะรับเฉพาะข้อมูลที่ส่งออกจากโปรแกรมเวอร์ชัน 2.05 เท่านั้น ข้อมูลที่ส่งออกจากโปรแกรมเวอร์ชันเก่า เมื่อส่ง เข้ามาในระบบข้อมูลจะไม่ผ่านการตรวจสอบติด C198 :ไฟล์ .ecd เป็นไฟล์ที่ส่งออกจากโปรแกรม E-Claim ก่อนเวอร์ชั่น 2.05 ต้อง update ทุกสิทธิ
โปรแกรม NHSO Client เวอร์ชัน 1.0.35 โปรแกรม e-Claim (ต่อ) : ปรับเพิ่มรหัสรายการหมวด 6 ,7 ,13 และ หมวด 15 : ปรับ DRG เป็นเวอร์ชัน 6.1 เริ่ม 1 มกราคม 2560 โปรแกรม NHSO Client เวอร์ชัน 1.0.35 โปรแกรม DMIS-HD อปท. : ปรับให้ รพ.สามารถอุทธรณ์ข้อมูลในระบบได้ 1 ตุลาคม 2559
ประเด็นแจ้งให้สถานพยาบาลทราบ
# การแก้ไข C438 สิทธิ อปท. ให้ตรวจคอลัมน์สิทธิหลักและสิทธิรอง จากไฟล์ REP (excel) หากไม่อยู่ในกลุ่มที่สามารถเบิกกับ สปสช. ได้ ให้หน่วยบริการแก้ไขเบิกให้ตรงตามสิทธิที่ตรวจสอบ ได้
ตัวอย่างกรณีที่เบิกสิทธิ อปท. ถ้าสิทธิที่ใช้เบิกเป็นกรมบัญชีกลางให้ แจ้งคนไข้และเลือกเบิกจากกรมบัญชีกลางแทน อปท. รวมถึงสแกนนิ้วเป็น กรมบัญชีกลาง
กรณีใช้หนังสือรับรองต้นสังกัด อปท. ในโปรแกรม NHSO Client
สิทธิ อปท. ที่สามารถเบิกผ่านโปรแกรม e-Claim ได้
C474 = การเบิกยาราคาแพงที่ต้องขออนุมัติการใช้ยา ไม่เป็นไปตามเงื่อนไข สาเหตุที่ 1. เข้ารับบริการก่อนได้รับการ อนุมัติใช้ยา - แก้ไขโดย ทำหนังสือขออุทธรณ์มายัง สปสช. สาเหตุที่ 2. ขออนุมัติต่ออายุล่าช้า - แก้ไขโดย รพ.ต้องได้รับการอนุมัติใช้ยา ก่อน จึงจะสามารถส่งข้อมูลได้ สาเหตุที่ 3. การขอใช้ยาในกลุ่ม ในกรณีอื่นๆ เช่น กรณียา จ.2 ,กรณี KT rejection - แก้ไขโดย ให้ตรวจสอบรหัสโรคหลักและ รหัสโรครอง ให้ถูกต้อง
# การดำเนินการกรณีข้อมูล ORS ORS = Outlier Reimbursement Schedule (กรณีผู้ป่วยในที่มีค่าใช้จ่ายสูงเกินปกติ) REP ตอบกลับใน File excle คอลัมน์ “ORS” มีค่าเป็น Y หมายถึง กรณีค่าใช้จ่ายในผู้ป่วยบางรายที่ไม่สอดคล้องกับค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ในกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม ให้ดำเนินการดังนี้ 1. ให้ทำหนังสือยืนยันแจ้งมายัง สปสช. 2. สถานพยาบาลสแกนเวชระเบียนและรายละเอียดข้อมูลด้านการเงินมาที่ สปสช. 3. สปสช. ตรวจสอบและส่งผลการพิจารณาการคำนวณจ่ายกรณี ORS และแจ้งให้สถานพยาบาลทราบ
# การตรวจสอบข้อมูลเบิกจ่ายกรณีที่อาจเบิกซ้ำซ้อน
สรุปการเบิกจ่ายสิทธิ อปท. ผ่านระบบของ สปสช. ก่อนส่งข้อมูลเบิกจ่ายค่า รักษาพยาบาล การตรวจสอบสิทธิ การลงทะเบียนเบิกจ่าย ตรง การขออนุมัติใช้ยาราคา แพง โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง NHSO client Prior authorization e-Claim HD ส่งข้อมูลเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล หลังส่งข้อมูลเบิกจ่าย การประมวลผล การตอบกลับ REP หน่วยสนับสนุน/ช่วยเหลือHelp desk สาขาเขต
ขอ Username และ Password เข้าโปรแกรมต่าง ๆ ของ สปสช http://nakhonsawan2.nhso.go.th/user_app
ขอ username และ password เข้าโปรแกรมต่าง ๆ ของ สปสช.
ขอ username และ password เข้าโปรแกรมต่าง ๆ ของ สปสช.
ขอ username และ password เข้าโปรแกรมต่าง ๆ ของ สปสช.
ขอ username และ password เข้าโปรแกรมต่าง ๆ ของ สปสช.
ขอ username และ password เข้าโปรแกรมต่าง ๆ ของ สปสช.
ขอ username และ password เข้าโปรแกรมต่าง ๆ ของ สปสช. แบ่งเป็น 2 ระบบ - Datacenter เช่น E-Claim เป็นต้น - จะส่งให้ทางอีเมล์ที่แจ้งไว้ ชื่อผู้ส่งชื่อ dc.nhso.go.th - ได้รับอีเมล์แล้ว ต้องแก้ไขข้อมูลที่เป็น dc.nhso.go.th - มีอายุ 180 วัน หากไม่ได้ใช้งานจะถูกระงับ - หาก login ผิด 3 ครั้งจะระงับ -ระบบทะเบียน (ตรวจสอบสิทธิ) - ต้องใช้บัตรประชาชนร่วมกับโปรแกรม UC Authentication 4.x - PIN Code เพื่อเข้าระบบขอได้ที่ทะเบียนราษฏร์ทุกแห่งทั่วประเทศ - มีอายุ 60 วัน หากไม่ได้ใช้งานจะถูกระงับ
ปลดสิทธิ ย้ายสิทธิ ต่าง ๆ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้าราชการและหน่วยงานรัฐ ใช้โปรแกรม ERM ประกันสังคม ส่งเอกสารหมดสิทธิจาก ปกส. มาที่ สปสช.เขต 3 ไฟฟ้าฝ่ายผลิต/ไฟฟ้านครหลวง/ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ให้ติดต่อนายทะเบียนต้นสังกัดปลดสิทธิผ่านโปรแกรมลงทะเบียนหน่วยงานรัฐ อปท. ให้ติดต่อนายทะเบียนต้นสังกัด ปลดสิทธิผ่านโปรแกรมระบบทะเบียนบุคลากร ผู้ประกันตนคนพิการ หากต้องการย้ายหน่วยบริการ ส่งคำร้องขอลงทะเบียนมาที่ สปสช.เขต 3 กทม.และพัทยา ให้ติดต่อนายทะเบียนต้นสังกัดปลดสิทธิผ่านโปรแกรมลงทะเบียน
ขอบคุณครับ