ตัวชี้วัดในภาพรวมจังหวัดสตูลและเขตสุขภาพที12
นโยบายในการขับเคลื่อน Service Plan จังหวัดสตูล เป้าหมาย: 1.โรงพยาบาลได้รับการรับรอง HA 2.อัตราป่วยตายลดลง 3.พัฒนางานการดูแลผู้ป่วยตามกลุ่มโรค 4.พัฒนางานปฐมภูมิ วิสัยทัศน์:เป็นที่พึ่งทางสุขภาพของประชาชนจังหวัดสตูล นโยบายในการขับเคลื่อน Service Plan จังหวัดสตูล กลยุทธ์ที่ 1:พัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มโรคสำคัญ
Service plan สัญจร จ.สตูล
ZONING NCD * OB-GYN DENT ACS / TRAUMA/CANCER/ EYE / KIDNEY / NCD / รพ.ควนกาหลง/ ท่าแพ/ควนโดน NCD * OB-GYN DENT รพ. ละงู/ทุ่งหว้า / มะนัง ORTHOPEDICS PRIMARY(PCC) THAI TRADITIONAL รพ.สตูล ACS / TRAUMA/CANCER/ EYE / KIDNEY / NCD / SURGERY/ NEWBORN / PSYCHI
1.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีต.ค.59 –30มิ.ย.60 สาขา NCD 1.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีต.ค.59 –30มิ.ย.60 ปี 2558 20.39 ปี2559 25.56 ปี 2560 18.79 กระทรวง 20.21 ร้อยละ DX โรคผิด พบผิดพลาด 25 % ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วย เบาหวานโดยไม่มีประวัติ ค่าใช้จ่ายในการตรวจผล labราคาแพง ≥ร้อยละ40 ร้อยละ ≥ร้อยละ40 อำเภอ จังหวัด จังหวัดสตูล เขต 12
2.ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันได้ดีต.ค.59 –30 มิ.ย.60 ปี 2558 13.74 ปี2559 21.44 ปี 2560 26.23 กระทรวง 32.46 ร้อยละ ≥ร้อยละ50 ≥ร้อยละ50 ร้อยละ จังหวัด อำเภอ จังหวัดสตูล เขต 12
3.ร้อยละของเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินCVD Risk>ร้อยละ 80(ต.ค.-30 มิ.ย.60) ปี2558 94.99 ปี2559 95.83 ปี2560 74.72 กระทรวง 78.58 ร้อยละ ร้อยละ ปัญหา อุปสรรค .การตรวจ Lab ประจำปี ยังไม่ครอบคลุม แผนพัฒนา . รณรงค์ให้มีการคัดกรอง Lab ประจำปีให้ครอบคลุมในไตรมาสที่ 2 จังหวัดสตูล เขต 12
เขต 12 จังหวัดสตูล กระทรวง 450.76 4.อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ไม่เกิน130ครั้ง:100,000ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป (ต.ค.-มิ.ย.60) ปี2558 209.83 ปี2559 184.48 ปี2560 735.69 กระทรวง 450.76 ร้อยละ ร้อยละ อำเภอ จังหวัด จังหวัดสตูล เขต 12
5.อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง(ต.ค.59-มิ.ย.60) ปี2558 5.31 ปี2559 4.13 ปี2560 6.34 กระทรวง 8.57 < ร้อยละ 7 ร้อยละ ร้อยละ อำเภอ จังหวัด เขต 12 จังหวัดสตูล
ผลลัพธ์จากการให้ยา r-TRA ปัญหา/อุปสรรค 1.มี Stroke unit แต่ไม่มีแพทย์เฉพาะทาง ผู้ป่วยส่วนใหญ่ส่งต่อที่รพ.หาดใหญ่ 2.โรงพยาบาลชุมชนยังไม่สามารถให้ rtPA ได้ โอกาสพัฒนา 1.บูรณาการการทำงานร่วมกับกายภาพ/แพทย์แผนไทย 2.พัฒนา Stroke fast track อย่างต่อเนื่อง
อัตราการชะลอความเสื่อมของไต ผู้ป่วยที่มีอัตราการลดลงของeGFR<4ml/min/1.73m²/yr (ต.ค.59- 30 มิ.ย.60) สาขาไต ปี 2558 72.83 ปี 2559 58.54 ปี 2560 57.77 กระทรวง 62.3 ร้อยละ ปัญหา/อุปสรรค 1.ไม่มีอายุรแพทย์โรคไต 2.ผู้ป่วย DM และ HTมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 3.ลงข้อมูลไม่ครบถ้วนและวินิจฉัยผิด 4.ค่าใช้จ่ายสูง 5.ทรัพยากรมีจำกัด แก้ไข 1.ปรับเปลี่ยนวิธีการดูแล ผู้ป่วยสู่ชุมชน วิถีชีวิต 2.ปรับการเข้าถึงในรพสต. >ร้อยละ65 ร้อยละ >ร้อยละ65 อำเภอ จังหวัด จังหวัดสตูล เขต 12
สาขาทันตะ ร้อยละรพ.สต./ศสม.ผ่านเกณฑ์จัดบริการสุขภาพช่องปาก ที่มีคุณภาพ >ร้อยละ 60 (ต.ค.59-30มิ.ย.60) 1. การให้บริการส่งเสริมทันตสุขภาพ ทันตกรรมป้องกัน และ บริการทันตกรรมพื้นฐาน ทั้งในสถานบริการสุขภาพ และ นอกสถานบริการสุขภาพ ได้ตามเกณฑ์ 6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรม 2. จัดบริการสุขภาพช่องปากที่ครอบคลุมประชากรได้ตามเกณฑ์ร้อยละ ๒๐ ร้อยละ >ร้อยละ 60 ร้อยละ อำเภอ จังหวัด เขต 12 จังหวัดสตูล
อัตราการใช้บริการช่องปากรวมทุกสิทธิของประชาชนในพื้นที่>ร้อยละ 35 (ต อัตราการใช้บริการช่องปากรวมทุกสิทธิของประชาชนในพื้นที่>ร้อยละ 35 (ต.ค.59-30 มิ.ย.60) ปี 2559 20.26 ปี 2559 7.49 ปี 2560 18.32 กระทรวง 22.36 ร้อยละ ร้อยละ >ร้อยละ 35 อำเภอ จังหวัด จังหวัดสตูล เขต 12
สาขาแพทย์แผนไทย ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน(ต.ค.59-30 มิ.ย.60) > 18.5% ร้อยละ ร้อยละ อำเภอ จังหวัด ปัญหา/อุปสรรค 1.การสั่งจ่ายยาสมุนไพรที่ OPD ยังไม่ได้ดึงข้อมูลเข้า HDC 2.คีย์มูลยังไม่ครบถ้วน จังหวัดสตูล เขต 12
อัตราตายทารกแรกเกิดน้อยกว่า 28 วัน (ต.ค.59-30 มิ.ย.60) สาขา ทารก แรกเกิด อัตราตายทารกแรกเกิดน้อยกว่า 28 วัน (ต.ค.59-30 มิ.ย.60) < ร้อยละ4:1000ทารกเกิดมีชีพ ร้อยละ จังหวัด เขต 12 จังหวัดสตูล
สาขาตา ร้อยละ ร้อยละ 80 จังหวัด ร้อยละผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก(Blinding Cataract)ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน (ต.ค.59-30 มิ.ย.60) สาขาตา ปี 2558 87.72 ปี 2559 89.52 ปี 2560 85.29 ร้อยละ ร้อยละ 80 ปัญหาอุปสรรค ระยะรอคอยเริ่มนานขึ้นเนื่องจากมีแพทย์ 2 คน แก้ไข ปี 61 มีแพทย์เพิ่ม 2 คน จังหวัด
ร้อยละผู้สูงอายุ 60ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสายตา≥75 (ต.ค.59-มิ.ย.60) ปี2558 93.48 ปี2559 88.36 ปี2560 43.21 ร้อยละ ปัญหา/อุปสรรค 1.ความผิดพลาดในการลงข้อมูล 2.ไม่ได้ลงข้อมูล(ท่าแพ) 3.ไม่ทราบPassword/username แก้ไข 1.คืนข้อมูลแก่รพสต. ร้อยละ ข้อมูลดิบ 55.58% อำเภอ จังหวัด เขต 12 จังหวัดสตูล
อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 28 : 100,000 ประชากร สาขาโรคหัวใจ อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 28 : 100,000 ประชากร ผู้ป่วย STEMI ที่เสียชีวิตภายในรพ. หลังได้รับการรักษา < ร้อยละ 10 ปัญหา/สถานการณ์ 1.จังหวัดสตูล รพ.ระดับS-F2สามารถให้ SK ได้ ร้อยละ 100 2.มีwarfarin clinic 5 รพ.คิดเป็นร้อยละ 83.33คาดว่าจะครบ 100%ในปี2560 มาตรการการขับเคลื่อน 1.สหวิชาชีพสัญจรทั้งจังหวัด 2.มีระบบ consult และส่งต่อชัดเจน ปีงบ ปีงบ
จ.สตูล คาดว่าจะผ่าน RDU Hospital ขั้นที่ 1 RDU1(Process) สาขา พัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล รายละเอียดตัวชี้วัด โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่าง สมเหตุผล จ.สตูล ปีงบฯ 2560 ไตรมาส2-3(ข้อมูล ณ 1/6/60) No. ขั้นที่ 1 : RDU 1 ประเมิน (Process) รพท. สตูล(S) รพช. ควนโดน(F2) รพช. ควนกาหลง(F2) รพช. ทุ่งหว้า(F2) รพช. ละงู(F1) รพช. ท่าแพ(F2) รพช. มะนัง(F3) 1 มีการกำหนดนโยบายเป็น RDU Hospital มี 2 มีมาตรการและกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 3 มีการพัฒนาระบบสารสนเทศในการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด RDU 20 ตัวชี้วัด 4 มีการติดตามประเมินผล 5 การจัดการการดื้อยา (AMR) กรณีเป็นรพ.ระดับ A,S,M1 ต้องมีแผนปฏิบัติการการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ และการดูแลกำกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล มี (ร่างฯกำลังเสนอฯ) (ไม่ต้องทำ) จ.สตูล คาดว่าจะผ่าน RDU Hospital ขั้นที่ 1 RDU1(Process) เกณฑ์ : โรงพยาบาล RDU ขั้นที่ 1 (RDU1Process+RDU1Output และRDU2)ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของ รพ.ทั้งหมด และสำหรับรพ.สตูล ต้องมีแผนปฏิบัติการการจัดการ การดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล(AMR)
รายละเอียดตัวชี้วัด โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ไตรมาส2 (ม.ค.60-มี.ค.60) ไตรมาส3 (ครบ3ไตรมาสสำหรับรพ.สต. และรพ.ถึง พ.ค.บางรพ.) No. ขั้นที่ 1 : RDU 1 ประเมินผลดำเนินงาน (Output) เกณฑ์ รอบการประเมิน รพท.สตูล (S) รพช. ควนโดน(F2) รพช. ควนกาหลง(F2) รพช. ทุ่งหว้า(F2) รพช.ละงู(F1) รพช.ท่าแพ(F2) รพช.มะนัง(F3) รพช. ละงู(F1) รพช. ท่าแพ(F2) 1 อัตราการสั่งยาในบัญชียาหลักแห่งชาติผ่านเกณฑ์กำหนด S ≥ 80 , F1-F3 ≥ 90 ทุก 3 เดือน 91.33 92.62 96.78 95.91 90.89 92.31 82.91 91.17 99.46 96.47 91.83 90.41 93.07 97.96 2 การพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของ PTC ผ่านเกณฑ์ระดับ 3 ระดับ 3 ระดับ 2+ ระดับ 2 3 รายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ ซึ่งยังคงมีอยู่ในบัญชีรายการยาของโรงพยาบาลไม่เกิน 1 รายการ ≤ 1 รายการ 4 จัดทำฉลากยามาตรฐานและฉลากยาเสริม 13 กลุ่มยา ระดับ 1 5 การดำเนินงานเพื่อส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อและส่งเสริมการขายยา จ.สตูล ผ่าน RDU Hospital ขั้นที่ 1 RDU1(Output) (ไตรมาสที่2 ผ่านเพียง 2 แห่ง ไตรมาสที่ 3 ผ่านทุกรพ.) สีม่วงที่ช่อง ไตรมาสที่3 คือข้อมูลครบ 3 เดือน ในไตรมาสที่3 ***สีม่วงที่ช่อง ไตรมาสที่3 คือข้อมูลครบ 3 เดือน ในไตรมาสที่3
PTC = 2+ คือ PTCผ่าน แต่ RDU2 ไม่ ผ่าน
ขั้นที่ 1 RDU 2 : รพ.สต./PCU ต้องผ่านเกณฑ์ KPI AD และ URI อย่างน้อย 40% ของรพ.สต./PCU ทั้งหมดในเครือข่ายระดับอำเภอ ในไตรมาสที่2 รพ.ในจ.สตูล ผ่าน RDU2 แล้ว 4/7 แห่ง คิดเป็น 57.14% การประเมิน RDU ขั้น 1 ปีงบ 60 : รายงานผลในรายงานเฉพาะกิจตัดตอน ไตรมาสเลย และใช้ผลประเมินไตรมาส 4 ( เนื่องจากเป็นปีแรก) ปีงบ 61เป็นต้นไป ให้ทุกรพ ส่งรายงานเฉพาะกิจ เป็นข้อมูลสะสมตั้งแต่ ต.ค. 60 (เหมือน service plan อื่นๆ) ข้อมูล ณ ที่ B=0=ผ่าน; 3/7/60
ในไตรมาสที่3 จ.สตูล ผ่าน RDU ขั้นที่1 แล้ว 7/7 แห่ง คิดเป็น 100% ปัญหาเรื่องการสั่ง NED ในรพช.ขนาด F3 เดิม PTC ในรพช.ยังติดเรื่องเอกสาร และหากระบบPTC ผ่าน แต่ RDU2 ไม่ผ่านจะทำให้ได้คะแนน 2+ (=ไม่ผ่าน) เดิม ฉลากยาในบางรพช.มีขนาดเล็ก ทำให้ได้รายละเอียดไม่ครบตามข้อกำหนด ปัจจุบัน ครบถ้วนแล้วทั้งฉลากหลักและฉลากเสริม RDU2 ที่เป็นปัญหาสำคัญคือ AD ที่มีการใช้ATB ค่อนข้างสูง และอาจมีการเลี่ยงkey (B=0) หรือไม่มีคนไข้กลุ่มนี้เลย ซึ่งต้องตรวจสอบเชิงลึก HDC ข้อ7 B=0=ไม่ผ่าน ณ 12/6/2560 ในไตรมาสที่3 จ.สตูล ผ่าน RDU ขั้นที่1 แล้ว 7/7 แห่ง คิดเป็น 100% ข้อมูล ณ ที่ B=0=ผ่าน; 3/7/60
1.สูติกรรม :อัตรามารดาตายจากการตกเลือดหลังคลอด เท่ากับ 0 สาขา 3 สาขาหลัก 1.สูติกรรม :อัตรามารดาตายจากการตกเลือดหลังคลอด เท่ากับ 0 ปัญหา/อุปสรรค ตายจาก severe sepsisอีก 1 รายปี 2560 แนวทางแก้ไข -พัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วย high risk -สอนแพทย์ฝึกหัดในการทำ u/s *ขาดเครื่อง u/s -อบรมการช่วยคลอดวิกฤต
2.กุมารเวชกรรม :อัตราป่วยตายโรคปอดบวมในเด็ก 1เดือน-5 ปีลดลง 10% 2.กุมารเวชกรรม :อัตราป่วยตายโรคปอดบวมในเด็ก 1เดือน-5 ปีลดลง 10% ร้อยละ ร้อยละ ปีงบ จังหวัด จังหวัดสตูล ต.ค.59-พ.ค.60 เขต 12
ร้อยละของการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีกระดูกหักไม่ซับซ้อน ในรพ. M2ลงไป 70 % HDC ร้อยละ Manual ร้อยละ HDC ปีงบ อำเภอ จังหวัดสตูล ต.ค.59-พ.ค.60
อัตราตายจาก Sepsis/Septic shock < ร้อยละ30(ต.ค.59-12มิ.ย.60) สาขาอายุรกรรม อัตราตายจาก Sepsis/Septic shock < ร้อยละ30(ต.ค.59-12มิ.ย.60) ร้อยละ ร้อยละ ปัญหา/สถานการณ์ 1.ขาดแคลนอายุรแพทย์ 2.การลงข้อมูลยังไม่ถูกต้อง 3.ไม่ปฏิบัติตามแนวทาง มาตรฐานการขับเคลื่อน 1.พัฒนาฐานข้อมูลHCD 2.sp สัญจร จังหวัด จังหวัดสตูล เขต 12
1.ร้อยละการแตกของภาวะไส้ติ่งอักเสบ สาขาศัลยกรรม 1.ร้อยละการแตกของภาวะไส้ติ่งอักเสบ 2.ร้อยละผู้ป่วยที่เสียชีวิตในรพ.ของผู้ป่วยภาวะขาดเลือดที่ขาหรือแขน<ร้อยละ20 <ร้อยละ 20 ร้อยละ (ต.ค.59-พ.ค.60) คิดเป็นร้อยละ28.57 ปีงบ 1. ให้ความรู้แพทย์ พยาบาล 2. วางแนวทางการดูแลและการ ส่งต่อ 3. วางระบบการติดตาม คืนข้อมูลให้ โรงพยาบาลชุมชน ทุก 3 เดือน 4. ให้มี Early Consult จังหวัดสตูล
3. ร้อยละผู้ป่วยที่เสียชีวิตในรพ 3.ร้อยละผู้ป่วยที่เสียชีวิตในรพ.ของผู้ป่วยปวดท้องเฉียบพลัน5ภาวะ<ร้อยละ4 ร้อยละ 4.ร้อยละของการถูกตัดขาตั้งแต่ระดับข้อเท้าขึ้นมาของผู้ป่วย ภาวะขาดเลือดที่ขา มีผู้ป่วยที่วินิจฉัย 2รายแต่ถูกตัดขาทั้งหมด14 ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยDM poor control,sepsis. ร้อยละของการถูกตัดขาตั้งแต่ระดับข้อเท้าขึ้นมาของผู้ป่วย ภาวะขาดเลือดที่ขาคิดเป็น ร้อยละ 0
สาขามะเร็ง CA breast CA colo-rectal CA prostate ศัลยแพทย์ (General surgeon) 2 ท่าน ผู้ป่วยมีความเชื่อทางศาสนา มีผลกับการรักษา ข้อจำกัดเรื่องรังสีรักษา CA breast CA colo-rectal CA prostate แผนพัฒนา ความภาคภูมิใจ 1.ได้รับเชิญนำเสนอต้นแบบการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ณ กระทรวงสาธารณสุข 2.ได้รับคัดเลือกนำเสนอในงานประชุมวิชาการ Service plan มะเร็ง ระดับประเทศ ณ จังหวัดอุบลราชธานี
อัตราการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ 30-70 ปีร้อยละ 80 คัดกรองโดยเจ้าหน้าที่ คัดกรองด้วยตนเอง อำเภอ จังหวัด จังหวัดสตูล เขต 12
ร้อยละของผู้ป่วยทีได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดและเคมีบำบัด ภายในระยะเวลาที่กำหนด≥ 80%(ต.ค.59-มี.ค.60) เขต 12
ร้อยละ ร้อยละของผู้ป่วยทีได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ≥ 80% ร้อยละของผู้ป่วยทีได้รับการรักษาด้วยการเคมีบำบัด ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ 80% ร้อยละ ปัญหา/อุปสรรค 1.ส่งชิ้นเนื้อ1ครั้ง/สัปดาห์ 2.ผ่าตัด 2 วัน /สัปดาห์ 3.รอการตัดสินใจของผู้ป่วย ปัญหา/อุปสรรค 1.ความพร้อมของผู้ป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 6.3:100,000ประชากร สาขาจิตเวช อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 6.3:100,000ประชากร กิจกรรม : พัฒนาระบบเฝ้าระวังปัญหาการฆ่าตัวตายระดับอำเภอ (นำร่องอำเภอทุ่งหว้า) อบรมการสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายและครอบครัวทุกอำเภอ พัฒนาศักยภาพแกนนำบูรณาการงานสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในชุมชน
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน KPI เกณฑ์ 2558 ปี 2559 ปี 2560 อัตราตายผู้ป่วยอุบัติเหตุPS>0.75 < 1% 0.04 0.1 อัตราการทบทวนผู้ป่วยอุบัติเหตุเสียชีวิตที่มีค่าPS>0.75 > 50 100 NA สัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (ณ จุดเกิดเหตุ)ทีเริ่มได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉินภายใน 8 นาที >50 62.75 66 70 ** ร้อยละของรพ.ระดับ F2 ขึ้นไปในแต่ละจังหวัดที่มีการพัฒนาคุณภาพ ECS จนผ่านเกณฑ์การประเมิน(≥40) ( ≥ 60% ) ** ร้อยละของ ER คุณภาพในรพ.ระดับ F2ขึ้นไป ≥40 ( อยู่ในช่วงการประเมินยังไม่มีข้อมูล )
สาขา การรับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ แต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบ พัฒนาศักยภาพทีมดำเนินงาน (ศึกษาดูงาน, จัดประชุมอบรม) จัดหาสื่อ/แผนการประชาสัมพันธ์ (จัดบูท ปชส. OPD,หน่วยรับบริจาคโลหิต ,งานกาชาด ) เปิดศูนย์รับบริจาคอวัยวะรพ.สตูล(14 มิ.ย.60) จำนวนผู้บริจาคดวงตาและอวัยวะ 15 จำนวนผู้บริจาคอวัยวะ 18 จำนวนผู้บริจาคดวงตา 1
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี 2561-2569 สาขาพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี 2561-2569 หน่วยบริการ ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64 ปี 65 รวม ทีม รพ.สตูล 3 2 11(112,775) รพ.ละงู 1 6(70,971) รพ.ควนกาหลง 3(34,256) รพ.ทุ่งหว้า 2(23,695) รพ.ควนโดน 2(25,902) รพ.ท่าแพ 3(28,706) รพ.มะนัง 2(17,748) 4 9/13 8/21 6/27 1/28 1/29 29(314,053) ร้อยละ 13.79 44.83 72.41 93.10 96.55 100 หมายเหตุ ถ้ามีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว
สาขายาเสพติด ร้อยละของผู้เสพยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่องหลังจำหน่าย 3 เดือน จากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์ที่กำหนด
Pallative care เขต 12
ผู้ป่วย palliative เขต 12 *** จำนวนผู้ป่วย 3493 คน โรค 1.มะเร็ง 2.CKD 3.Stroke 135 1078 598 + 532 257 80 437+80 296
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และตัวชี้วัด 1. พัฒนาระบบบริการสำหรับผู้ป่วยระยะท้าย ทั้งในสถานบริการและชุมชน พัฒนาระบบการเข้าถึงบริการและคุณภาพการบริการ ตัวชี้วัด ผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ที่ควรได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ได้เข้าสูกระบวนการดูแล ≥ ร้อยละ 50 2. พัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่องจากโรงพยาบาลสู่ชุมชน พัฒนาระบบส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่องอย่างไร้รอยต่อ ตัวชี้วัด ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลต่อเนื่อง ≥ ร้อยละ 70 3. พัฒนาระบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย ตัวชี้วัด โรงพยาบาลมีแผนงานหรือโครงการร่วมกับเครือข่าย อย่างน้อย 1 แผนงาน/โครงการ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และตัวชี้วัด
คัดเลือกกลุ่มโรค PC เขต 12 CA ESRD COPD Stroke CA ESRD COPD Stroke/neuro AIDS Dementia/senile Pediatric Multiple trauma
บุคลากร แพทย์ พยาบาล สหวิชาชีพ (หลักสูตร การุณรักษ์ (4) + FM, Anes, Med, ENT) สหวิชาชีพ เภสัชกร โภชนากร กายภาพ แผนไทย สังคมสงเคราะห์ พยาบาล (full time : หาดใหญ่, สงขลา, ยะลา) สหวิชาชีพ
ระบบบริการ ศูนย์ palliative care (ยะลา,ตรัง) HHC pain clinic (100 %) (ทุก รพศ, รพท) strong opioids (เริ่มขาดตั้งแต่ระดับ M ) Advance care plan ,Family meeting (ขาด 2 รพ. ) คลังอุปกรณ์ ทางการแพทย์ (A ทุก รพ. , S สงขลา) HHC (100 %)
KPI 2560 A = 3 S = 5 M1=2 M2 =4 F1 = 10 F2 = 51 F3 = 3 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1.1 A S M1 (10) -กรรมการ/ศูนย์ palliative สหวิชาชีพ และแนวทาง M2 F1-3 (68) -คณะกรรมการ และแนวทาง 1.2 A S M1 (10) พยาบาล full time อบรม แนวทางปฏิบัติการดูแลข้างเตียง PCWN manager/coordinator อบรม 1.3 ผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ ได้รับการคัดกรองเข้าสู่ Palliative care ≥ ร้อยละ 80 1.4 เชื่อมโยงดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ( 94.96 /91.53 ) 1.5 strong opioid/CAM ≥ ร้อยละ 50 ของรพ.ในเขตสุขภาพ KPI 2560 A = 3 S = 5 M1=2 M2 =4 F1 = 10 F2 = 51 F3 = 3
โครงการประชุมวิชาการพัฒนาเครือข่ายสหสาขาวิชาชีพ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองอย่างบูรณาการระดับเขต สรุป ผู้เข้าประชุม จำนวน 280 / 80 คน ประกอบด้วยแพทย์,เภสัช, พยาบาล ได้รับ หน่วยกิตการอบรมทั้ง 3 วิชาชีพ เครือข่ายสถาบันฝึกภาคทฤษฎี (6-9/6/2560) มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ สงขลานครินทร์ สถาบันฝึกภาคปฏิบัติ (19/6-1/9/2560) รพ .สงขลา , รพ.หาดใหญ่ , รพ. มอ ,รพ.ศูนย์ยะลา
KPI จ.สตูล ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย สตูล ละงู ควนกาหลง ท่าแพ ควนโดน ทุ่งหว้า มะนัง s M2 F2 F3 1 ร้อยละผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ที่ควรได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ≥ 50% 100 2 ร้อยละของผู้ป่วยและครอบครัวได้รับการเตรียม Advance care plan 3 ร้อยละผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ≥ 70% 96 94 80 94.74 4 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลจัดการอาการ แล้วมีคะแนนจาก ESAS ลดลง 60 50 91.81 5 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีความจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์และได้รับอุปกรณ์ใช้ที่บ้าน ≥ 80% 6 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีความจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่บ้านและได้รับการสนับสนุนจากโรงพยาบาล ≥ 20% 20 70 7 ร้อยละของผู้ป่วยที่เสียชีวิตตามความต้องการ ≥80% KPI จ.สตูล
เป้าหมาย สตูล ตรัง พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ตัวชี้วัด ร้อยละ 1 ร้อยละผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ที่ควรได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ได้เข้าสู่กระบวนการดูแล ≥ 50 100 95 91.32 2 ร้อยละของผู้ป่วยและครอบครัวได้รับการเตรียม Advance care plan 49.01 84.11 89 67.54 3 ร้อยละผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ≥ 70 94.96 71.24 90 99.6 84.89 4 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลจัดการอาการ แล้วมีคะแนนจาก ESAS ลดลง 82.26 35.2 92 91.76 5 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีความจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์และได้รับอุปกรณ์ใช้ที่บ้าน ≥ 80 85 84.1 78.68 6 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีความจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่บ้านและได้รับการสนับสนุนจากโรงพยาบาล ≥ 20 51.43 72.39 74.56 7 ร้อยละของผู้ป่วยที่เสียชีวิตตามความต้องการ 64.47 59.28 91.08 KPI เขต 12
Palliative care
แผนการเพิ่มศักยภาพการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง เขต 12 1.ด้านศักยภาพบุคลากร : ทีมสหสาขาวิชาชีพ : ประมาณ 2,000,000 / ปี ดังข้อมูลในแผน 2.ด้านศักยภาพเครื่องมือดูแลผู้ป่วย : อุปกรณ์ สำคัญ ราคาสูง ปี 2561 โรงพยาบาลระดับ A,S,M มีอุปกรณ์สำคัญ ครบ 13 หน่วยบริการ ได้แก่ syringe driver และ เครื่องผลิตออกซิเจน : ประมาณ 780,000 /ปี
โครงการ 2561 2562 2563 2564 2565 1. พัฒนาสหวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วย palliative care 600,000 420,000 2. ฟื้นฟูวิชาการและบูรณาการกับการแพทย์ทางเลือก 106,700 3.พัฒนาระบบการส่งต่อการดูแลผู้ป่วย palliative care อย่างไร้รอยต่อ 47,000 34,400 4. พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยที่บ้านของอาสาสมัครประจำครอบครัวและผู้ดูแลผู้ป่วย 415,800 333,200 299,600 5. เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย 700,000 รวมงบ 1,869,500 1,593,900 1,560,300
Innovation
สรุปประเด็นสำคัญของตัวชี้วัด service plan จ.สตูล SP สถานการณ์ การพัฒนา 1.NCD ภาพรวมการควบคุม DM,HT,CVD RISK ,COPD , STROKE ใกล้เคียงผลลัพธ์ภาพรวมเขตและกระทรวง รพช.ละงู พบปัญหา KPI เรื่อง DM,CVD, COPD รพช.มะนัง พบปัญหา KPI เรื่อง HT , STROKE 2.ไต ภาพรวมKPIใกล้เคียงผลลัพธ์ภาพรวมเขตและกระทรวง รพช.มะนัง พบปัญหา KPI 3.สุขภาพช่องปาก ภาพรวมตัวชี้วัดดีขึ้นหลังทำกิจกรรมในโรงเรียนแต่ยังต่ำในภาพรวมเขต รพช.มะนัง ยังไม่มีผลลัพธ์กิจกรรม รพสต.เกาะตันหยงกลิงและหลีเป้ะมีปัญหาผลลัพธ์กิจกรรมมาก 4.newborn ตัวชี้วัดอัตราการตายดีที่สุดในเขต 12 ตั้งเป้าพัฒนา CPG เรื่อง PPHN 5.ตา อัตราการคัดกรองดีขึ้นในภาพรวมเขต อัตราการผ่าตัดดีมาตลอด พัฒนาการคัดกรองและลงข้อมูล 6.ACS อัตราการเสียชีวิตอยู่ในเกณฑ์ดีตลอด การให้ SK ในF2 ขึ้นไป 100 % แผนพัฒนา warfarin clinic ครบ 100% (ก.ค. 2560)
สรุปประเด็นสำคัญของตัวชี้วัด service plan จ.สตูล 7.3สาขาหลัก สูติ :อัตราตายจาก PPH=0 เด็ก:ลดอัตราตายจากปอดบวม=0 กระดูก :ข้อมูล HDC ต่ำ (10%) ข้อมูล manual ไม่ถูกต้อง 8.อายุรกรรม อัตราการเสียชีวิตจากseptic shock ยังสูงกว่าเกณฑ์เล็กน้อย (อันดับ 2 ในเขต) รพช.ทุ่งหว้า มีอัตราเสียชีวิตสูงสุด --- แนะนำการทบทวนระบบCPG 9.ศัลยกรรม อัตราการเกิด rupture appendix อยู่ในเกณฑ์ดี 10.cancer อัตราการคัดกรองอยู่ในเกณฑ์ดี อัตราการรักษาโดยผ่าตัดและเคมีบำบัดยังต่ำในภาพรวมเขต มีช่วงที่แพทย์ไม่สบาย ผ่าตัดไม่ได้ และผู้ป่วยตัดสินใจเรื่องผ่าตัดและเคมีช้า 11.จิตเวช อัตราการฆ่าตัวตาย: อยู่ในเกณฑ์ดีตลอด 12.ยาเสพติด
สรุปประเด็นสำคัญของตัวชี้วัด service plan จ.สตูล 13. RDU RDU 1 ผ่าน RDU 2 ไม่ผ่าน พัฒนาการตระหนักเรื่องการใช้ ATB ที่เหมาะสมใน รพสต. 14. Trauma KPI ดี ร้อยละของรพ.ระดับ F2 ขึ้นไปในแต่ละจังหวัดที่มีการพัฒนาคุณภาพ ECS จนผ่านเกณฑ์การประเมิน(≥40) ≥60% ร้อยละของ ER คุณภาพในรพ.ระดับ F2ขึ้นไป ≥40 % อยู่ในช่วงการประเมินยังไม่มีข้อมูล 15.Primary care จัดตั้ง PCC ครบตามเกณฑ์ พัฒนา PCC คุณภาพ และรพสต.ติดดาว 16.แผนไทย ผลลัพธ์ภาพรวมจังหวัดผ่านเกณฑ์ รพช.ควนโดน ยังมีผลลัพธ์ต่ำ 17.Palliative care KPI การดูแลผู้ป่วย PC เข้าเกณฑ์ 18.Transplant มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานการรับบริจาคอวัยวะอย่างเป็นทางการ มียอดการบริจาคล่าสุด อวัยวะ ... ตา ..........
โอกาสพัฒนา งาน service plan จังหวัดสตูล แผนระบบงานข้อมูล แผน zoning แผนยุทธศาสตร์สาธารณสุขทางทะเล