งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
Advertisements

ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การเขียนโครงร่างวิจัย
ผู้วิจัย นางบุญนภัส รินทร์คำ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีราชา.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)

ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ลิ้มปองทรัพย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เลขที่ 2 ถนนมหาราช แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะ.
นายศุภพล มงคลเจริญพันธ์
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
การบริหารโดยใช้รูปแบบบูรณาการด้านงานวิชาการและ การจัดการเรียนการสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับแก้ปัญหา การจัดทำวิจัย กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ผู้วิจัย รจนา บัวนัง หลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ปีการศึกษา 2553
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การวิเคราะห์งบการเงิน
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งบการเงิน 1. ฝ่ายบริหาร 2. ผู้ลงทุน
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
A.Petcharee Sirikijjakajorn
บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
นางสาวสุวรรณ์ สรแสดง วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรบริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 4 ต้นทุนของเงินทุน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
กลุ่มที่ 4 ต้นแบบระบบสารสนเทศ ด้านการคลังเพื่อการบริหารจัดการ.
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
การนำเสนอผลงานการวิจัย
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือนกันยายน 2554
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์งบการเงิน
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย การศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับราคาหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียน หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และ หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้างในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นายยิ่งเจริญ บุญยัง ผู้วิจัย (วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ) ผศ.ดร.กิตติมา อัครนุพงศ์ อาจารย์ที่ปรึกษา

วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินและราคาหลักทรัพย์ชองกลุ่มอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์การก่อสร้าง หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และหมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินและราคาหลักทรัพย์กลุ่มอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และหมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้างในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

กรอบแนวคิดในการวิจัย Independent Variable Liquidity Ratio Efficiency Ratio Leverage Ratio Profitability Ratio Dependent Variable Stock Prices Control Variable Size (Total Asset) GDP Inflation Rate

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง หมวดธุรกิจ จำนวน ร้อยละ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 56 74.67 วัสดุก่อสร้าง 19 25.33 รวม 75 100.00 ประชากร หมวดธุรกิจ จำนวน ร้อยละ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 46 73.02 วัสดุก่อสร้าง 17 26.98 รวม 63 100.00 กลุ่มตัวอย่าง

การวิเคราะห์ข้อมูล 1. ตัดข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างที่อัตราส่วนทางการเงินไม่ครบถ้วน 2. เรียงลำดับเพื่อตัดข้อมูลที่มีค่าสูงสุด – ต่ำสุด 3. วิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 4. วิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน 5. ทดสอบสมมติฐานก่อนการทำการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ 6. วิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ - วิเคราะห์แยกระหว่างหมวดธุรกิจ 7. เปรียบเทียบความสัมพันธ์ของทั้งสองหมวดธุรกิจ โดยการแทนค่าตัวแปรหุ่น (Dummy Variable)

สรุปผลการศึกษา ส่วนที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา

ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติเชิงพรรณนา Variable Property Construction Stock Price สูงกว่า Current Ratio Quick Ratio Account Receivable Turnover Ratio Inventory Turnover Ratio Fixed Asset Turnover Ratio Asset Turnover Ratio Debt to Equity Ratio Interest Coverage Ratio Gross Profit Ratio Net Profit Ratio Return on Asset Ratio Return in Equity Ratio Total Asset Liquidity Efficiency Leverage Profitability

ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ Financial Ratio ทิศทางความสัมพันธ์กับราคาหลักทรัพย์ ระดับนัยสำคัญ Current Ratio ทิศทางตรงกันข้าม 0.10 Quick Ratio ไม่มีนัยสำคัญ Account Receivable Turnover Ratio ทิศทางเดียวกัน Inventory Turnover Ratio Fixed Asset Turnover Ratio Asset Turnover Ratio 0.01 Debt to Equity Ratio Interest Coverage Ratio 0.05 Gross Profit Ratio Net Profit Ratio Return on Asset Ratio Return on Equity Ratio Liquidity Efficiency Leverage Profitability

สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานที่ ผลการทดสอบสมมติฐาน 1 ปฏิเสธ H11 ยอมรับ H10 อัตราส่วนสภาพคล่องทางการเงินมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้าม กับราคาหลักทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2 ยอมรับ H11 อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำเนินงานมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับราคาหลักทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3 อัตราส่วนความสามารถในการชำระหนี้มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้าม กับราคาหลักทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4 อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไรมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน กับราคาหลักทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

ส่วนที่ 4 ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ สมการที่ (1) หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ Financial Ratio ลักษณะความสัมพันธ์ Current Ratio เป็นลบ ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Asset Turnover Ratio เป็นบวก ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Interest Coverage Ratio เป็นบวก มีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 Return on Asset Ratio สมการที่ (1) หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง Financial Ratio ลักษณะความสัมพันธ์ Current Ratio เป็นบวก ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Asset Turnover Ratio Interest Coverage Ratio เป็นลบ ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Return on Asset Ratio

สมการที่ (2) หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ส่วนที่ 4 ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ สมการที่ (2) หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ Financial Ratio / Control Variable ลักษณะความสัมพันธ์ Current Ratio เป็นลบ ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Asset Turnover Ratio เป็นบวก ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Interest Coverage Ratio เป็นบวก มีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 Return on Asset Ratio เป็นบวก มีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 GDP Inflation Rate Total Asset (Logarithm)

สมการที่ (2) หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง ส่วนที่ 4 ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ สมการที่ (2) หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง Financial Ratio / Control Variable ลักษณะความสัมพันธ์ Current Ratio เป็นบวก ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Asset Turnover Ratio Interest Coverage Ratio เป็นลบ ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Return on Asset Ratio GDP Inflation Rate Total Asset (Logarithm)

ส่วนที่ 5 ผลการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ ของทั้งสองหมวดธุรกิจ สมการที่ (3) อัตราส่วนทางการเงิน ผลการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ Current Ratio ไม่แตกต่างต่างกัน Asset Turnover Ratio ไม่แตกต่างกัน Interest Coverage Ratio หากพิจารณา 1-tailed หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีความสัมพันธ์สูงกว่า Return on Asset Ratio

ส่วนที่ 5 ผลการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ ของทั้งสองหมวดธุรกิจ สมการที่ (4) อัตราส่วนทางการเงิน ผลการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ Current Ratio ไม่แตกต่างต่างกัน Asset Turnover Ratio ไม่แตกต่างกัน Interest Coverage Ratio หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีความสัมพันธ์สูงกว่า Return on Asset Ratio

ข้อจำกัด - ข้อเสนอแนะ ข้อจำกัดในการศึกษา สมมติฐานในการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ ไม่ผ่านสมมติฐานที่ 2-4 ทั้ง 4 สมการ ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาในครั้งนี้ นักลงทุนควรใช้ข้อมูลในงบการเงินประกอบการตัดสินใจลงทุน พร้อมพิจารณาปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบ ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาในครั้งต่อไป - การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างอุตสาหกรรมอื่น ๆ - อาจกำหนดตัวแปรอิสระในการศึกษาเพิ่มเติม