ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาจักษุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
งานพัฒนาระบบบริการ สุขภาพสาขา ตา. สถานการณ์และแนวโน้มของ ปัญหาสุขภาพในพื้นที่
Free Powerpoint Templates Page 1 นพ. เกรียงศักดิ์ พิมพ์ดา ประธานคณะกรรมการฯ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
Service Plan 5 สาขาหลัก.
นำเสนอการพัฒนาระบบบริการเชิงระบบ สาขาจักษุ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การประชุมคณะกรรมการ SP ตา
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
พัฒนาระบบบริการคัดกรองเบาหวาน ขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวาน
SERVICE PLAN สาขาตา จังหวัดราชบุรี.
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service plan สาขา SEPSIS เขตสุขภาพที่ 11
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
3 Eye Service Plan : Health Area.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาจักษุ

ผลการดำเนินงานปี 2557 ปัญหา ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ แผนพัฒนาปี 58-60 1. Blinding Cataract 1.1) ค้นหา Blinding cataract รายใหม่ในชุมชน (เหตุผล : พบผู้ป่วยตาบอดในชุมชน ทั้งๆที่มีการรณรงค์ผ่าตัดต้อกระจกมาตลอด) อัตราการคัดกรอง วัดสายตาในผู้ป่วยอายุ 60 ปีขึ้นไป (อาจทดลองนำร่องก่อนในบางพื้นที่) (75%) การคัดกรองวัด สายตาในผู้ป่วยอายุ 60 ปีขึ้นไปในจังหวัดได้ 34.11 % 1.1)กำหนดเขตคัดกรองวัดสายตาในผู้ป่วยอายุ 60 ปีขึ้น ไปในทุกอำเภอ 1.2) จัดทำโครงการค้นหาต้อกระจกเคลื่อนที่เชิงรุกโดยมีจักษุแพทย์และพยาบาลออกหน่วยที่ รพช. 1 อำเภอ/ครั้ง

ผลการดำเนินงานปี 2557 ปัญหา ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ แผนพัฒนาปี 58-60 1.2) ลดระยะเวลารอคอยผ่าตัดในผู้ป่วย Blinding cataract (เหตุผล : เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ) ในจังหวัดแพร่มีคิวรอผ่าตัดต้อกระจกเฉลี่ยนาน 120 วัน ผู้ป่วย Blinding cataract ได้รับการผ่าตัด ต้อกระจกใน 30 วัน (80%) เวลารอคอยผ่าตัด ต้อกระจกเฉลี่ย 90วัน ต้อกระจกใน 30 วัน (57.82%) ต้อกระจกเฉลี่ย 58วัน 1.2) จักษุแพทย์จัดคิวผ่าตัดต้อกระจกโดยลดระยะเวลารอคอยผ่าตัดลง เช่น แทรกคิวผ่าตัดให้ผู้ป่วย blinding cataract , เพิ่มจำนวนผู้ป่วยผ่าตัดในเวลาราชการให้มากขึ้น 1.3)ประสานงานกับโครงการของภาคเอกชนออกหน่วยผ่าตัดต้อกระจกกรณีมีผู้ป่วยรอคิวจำนวนมาก

ผลการดำเนินงานปี 2557 ปัญหา ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ 2. Diabetic Retinopathy แผนพัฒนาปี 58-60 2. Diabetic Retinopathy 2.1) การคัดกรอง DR ยังไม่ครอบคลุมเนื่องจากจักษุแพทย์ไม่เพียงพอที่จะออกตรวจจอตาได้ทุกพื้นที่ (เหตุผล : เป็นภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานที่สามารถรักษาได้ถ้าเป็นไม่มาก ป้องกันตาบอด) ความครอบคลุม ของการคัดกรอง DR (80%) ผู้ป่วยเบาหวาน ได้รับการคัดกรองDR (76.36%)เนื่องจากระบบการเก็บข้อมูลของ รพช.ยังไม่เป็นระบบ 2.1)พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลโดยใช้โปรแกรมเดียวกัน (HOS xP)ที่รพช.และรพ.แพร่เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายขึ้น 2.2)ฝึกอบรมให้พยาบาล /พยาบาลรพช.ทุกแห่งสามารถถ่ายภาพจอตาได้ และแปลผลเบื้องต้นได้

ผลการดำเนินงานปี 2557 ปัญหา ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ แผนพัฒนาปี 58-60 2.2) ผู้ป่วย DR ที่ต้องได้รับการยิงเลเซอร์ มีคิวบริการยาว บางรพ.เครื่องเลเซอร์เสีย (เหตุผล : ผู้ป่วยจะตาบอดถ้าไม่ได้รับการรักษาในเวลาเหมาะสม) ผู้ป่วย High risk DR ได้รับการรักษาภายใน 30 วัน (100 %) ผู้ป่วย High risk DR ได้รับการรักษาภายใน 30 วัน (100 %) รพ.แพร่ได้ เครื่องเลเซอร์เพิ่ม 1 ตัวสามารถให้การรักษาผู้ป่วยได้มากขึ้น

ผลการดำเนินงานปี 2557 ปัญหา ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ แผนพัฒนาปี 58-60 3. การดูแลผู้ป่วยโรคตาที่มีปัญหาซับซ้อน เกินศักยภาพในปัจจุบัน (เหตุผล : มีการส่งต่อออกนอกเครือข่ายบริการค่อนข้างมาก) Retinal disease : DR , ROP , RD ,AMD,… Glaucoma : Cornea : ลดอัตราการส่งต่อออกนอกเครือข่ายลง (20%) ข้อมูลยังไม่ชัดเจน เพิ่มศักยภาพของการรักษา เช่นรักษาโรคทางกระจกตา ,ใช้อุปกรณ์ในการผ่าตัดเพิ่มขึ้นเพื่อแก้ไขภาวะเลนส์เคลื่อน

ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม 6 Plus Building Blocks ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) 1.ระบบบริการ(Service Delivery) ให้บริการรักษาและผ่าตัดโรคต้อกระจก ให้บริการรักษาและผ่าตัดโรคต้อหิน ให้บริการรักษาโรคตาด้วยเลเซอร์ ให้บริการตรวจคัดกรองและรักษาโรคตาอย่างง่าย การให้บริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ให้บริการตรวจวัดสายตา การคัดกรองผู้ป่วยที่มีภาวะตาบอด การเตรียมผู้ป่วยเพื่อการตรวจตา 2.กำลังคนด้านสุขภาพ (Workforce) จักษุแพทย์ พยาบาลเวชปฏิบัติทางตา พยาบาลเวชปฏิบัติที่ได้รับการฝึกอบรมในการตรวจตา เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ที่ได้รับการฝึกอบรมการวัดสายตา 3.ระบบข้อมูลข่าวสาร (Information Technology) พัฒนาการจัดการระบบฐานข้อมูล

ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม 6 Plus Building Blocks ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) 4. เทคโนโลยีทางการแพทย์ (Drug & Equipment) กล้องขยายตรวจตา เครื่องมือผ่าตัดทางตา กล้องขยายผ่าตัดตา phacoemulsifier A SCAN IOL BIOMETRY BY LASER Visual field analyser เครื่องวัดความดันลูกตา LASER PHOTOCOAGULATION (PATTERN LASER) YAG laser Fundus camera OCT Direct ophthalmoscope เครื่องวัดความดันลูกตาชนิด schiotzz แผ่นป้ายวัด สายตา Oculuder ปิดตา Pinhole

ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม 6 Plus Building Blocks ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) 5.ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (Financing) งบประมาณของ รพ. งบค่าเสื่อม ,งบ UC งบของ service plan 6.ภาวะผู้นำและธรรมมาภิบาล (Good Governance) คณะกรรมการระดับจังหวัดดำเนินงานและติดตามความก้าวหน้า 6+ การมีส่วนร่วมของชุมชน (Participation) อสม. เครือข่ายสุขภาพในชุมชน

โครงการปี 2558-2560 โครงการพัฒนาคุณภาพบริการผ่าตัดต้อ กระจก โครงการคัดกรองต้อกระจกเคลื่อนที่เชิงรุก โครงการคัดกรอง DR โครงการผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา

ด้านบริหาร โครงการคัดกรองต้อกระจกเคลื่อนที่เชิงรุก 1.จัดหาบุคลากรในการออกหน่วยคัดกรองต้อกระจก เชิงรุก 2.สนับสนุนแพทย์/เครื่องมือพร้อมอุปกรณ์ 2.1 slit lamp สำหรับออกหน่วย 2.2 IOL biometry by laser 2.3 B scan โครงการคัดกรอง DR 1. เครื่องถ่ายภาพจอประสาทตา Fundus camera 2.ส่งอบรม Ophthalmic technician

ด้านบริการ โครงการคัดกรองต้อกระจกเคลื่อนที่เชิงรุก 1. ประสานสสจ.แพร่ เสนอโครงการ 2. ประชุมรพช./รพ.สต. ดำเนินการตามโครงการฯในกาคัดกรองต้อ กระจก 3. ดำเนินการคัดกรองในชุมชน 4. ลงทะเบียนในระบบ Data Center เพื่อขึ้นทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย 5. จักษุแพทย์จัดระบบบริการผ่าตัดต้อกระจกในแต่ละรพ.ให้ลด ระยะเวลารอคอยผ่าตัดลง เช่น ลัดคิวผ่าตัดให้ผู้ป่วย blinding cataract , เพิ่มจำนวนวันผ่าตัด ,ผ่าตัดนอกเวลาราชการ , ออกหน่วย ผ่าตัดที่รพช. 6. สสจ.,รพ.แพร่และรพช. จัดให้มีการผ่าตัดต้อกระจกเพิ่มเติมจาก ระบบบริการปกติโดยนำทีมจักษุของหน่วยงานเอกชนช่วยผ่าตัดต้อ กระจกที่ รพช. เพื่อลดระยะเวลารอคอยผ่าตัด 7. กำกับติดตามการคัดกรองทุกอำเภอ/ตำบล ในจังหวัดแพร่

ด้านบริการ โครงการคัดกรอง DR 2. ฝึกอบรมให้พยาบาล/จนท.รพช.ทุกแห่งสามารถถ่ายภาพจอ ตาได้ 3. หมุนเวียน Fundus camera อำเภอละ 1 เดือน (ปีละ 2 ครั้ง) 4. จัดระบบให้จักษุแพทย์อ่านภาพจอตา

ด้านบริการ โครงการผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา 1.มีระบบการบริจาคดวงตาจากผู้เสียชีวิตในโรงพยาบาลแพร่ 2.มีจุดรับแสดงความจำนงบริจาคดวงตาจากประชาชนทั่วไป 3.ติดต่อประสานงานกับสภากาชาดไทยเพื่อนำส่งดวงตาและส่ง ดวงตามาผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตาที่รพ.แพร่ 4.มีความพร้อมของเครื่องมือ,อุปกรณ์ และบุคลากรในการผ่าตัด เปลี่ยนกระจกตา 5.รณรงค์ และให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริจาค ดวงตาให้กับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย รวมทั้งประชาชนทั่วไป 6.ร่วมกับสมาชิกเหล่ากาชาดจังหวัดแพร่และพยาบาลที่ออกไป รับบริจาคเลือดแจกแผ่นพับเมื่อมีการรับบริจาคเลือดเพื่อขอรับ แสดงความจำนงบริจาคดวงตาจากประชาชนทั่วไป

ด้านวิชาการ อบรม อสม.วัดสายตาผู้สูงอายุทุกราย เป็นสถานฝึกอบรมให้แพทย์/พยาบาล จาก รพช. รับเชิญไปเป็นวิทยากร พัฒนาองค์ความรู้แพทย์ พยาบาลและผู้เกี่ยวข้อง จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคตา

THANK YOU