“สถานการณ์และระบาดวิทยา โรคไม่ติดต่อในประเทศไทย ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาระโรคไม่ติดต่อ ลดหรือเพิ่มเริ่มที่พฤติกรรม
Advertisements

Quality Development with Outcome Research
Burden of Disease Thailand, 2009
DPAC Module 6 Risk Management & Refer
การพยากรณ์โรคความดันโลหิตสูง
ภูษิต ประคองสาย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP)
The Future Challenges and Policy Elaboration นพ. โกเมนทร์ ทิวทอง.
การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข (Public Health Surveillance)
The prevention of progression of arterial disease and diabetes (POPADAD) trial: factorial randomised placebo controlled trial of aspirin and antioxidants.
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ
ภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปึที่ 4 Grammar & Reading ครูรุจิรา ทับศรีนวล.
มองพัฒนาการเศรษฐกิจไทยผ่านกรอบ Daron Acemoglu
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
Patiphak Namahoot Dip. Thai Board of Family Medicine Director of Chumsaeng Hospital.
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Social Protection Floor: Situation and Way Forward Thaworn Sakunphanit.
Practice File. Our Executive Coaching Program is proven effective. Our customer survey show ROI of coaching can be as high as 3 times the investment value.
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
Clinical Correlation Cardiovascular system
ชุมชนกับการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Economy Update on Energy Efficiency Activities
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
ระบาดวิทยาโรคไม่ติดต่อ
น.พ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค
อ.หทัยกาญจน์ กำเหนิดเพชร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
Burden of disease measurement
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
ข้อมูลสำคัญในการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก: มุมมองและความหมาย
โครงการพัฒนาทีมจัดการระบบ การจัดการโรคเรื้อรัง ในระดับจังหวัดปี 2554
จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
จากนโยบายสู่การปฏิบัติ From Policy to Practice (P2P)
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
อ.จงกล โพธิ์แดง ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล 2559
Comprehensive School Safety
Review of the Literature)
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
(การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ)
2 Mahosot Hospital, Vientiane, Lao PDR
Burden of Diseases (BOD) Disability Adjusted Life Years(DALY)
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ในบริบทกรมแพทย์ทหารเรือ
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
Public Health Nursing/Community Health Nursing
1. พระเยซูทรงต้องการให้เราเป็น เหมือนพระองค์
ศปถ อำเภอ กับการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน 27 พฤษภาคม 2562 ศปถ อำเภอ กับการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน 27 พฤษภาคม 2562.
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
การจัดบริการ PrEP พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“สถานการณ์และระบาดวิทยา โรคไม่ติดต่อในประเทศไทย ” ดร. วรกร ไหมอุ้ม สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2559

วัตถุประสงค์ พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านระบาดวิทยาของปัจจัยเสี่ยง ต่างๆ และโรคไม่ติดต่อ แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ ประสานความรวมมือระหว่างเครือข่าย

บทบาทของการบริการสาธารณสุข (Public Health Services) การให้บริการทางสาธารณสุขมีขอบเขตกว้างขวางมาก ประกอบด้วย การป้องกันโรค/ภัยสุขภาพ การเฝ้าระวัง พฤติกรรมสุขภาพ ปัจจัยเสี่ยงและโรคต่าง ๆ การ เตรียมพร้อมสำหรับภัยพิบัติ ตลอดจนการให้บริการการ รักษาและการป้องกันโรคและการสร้างเสริมสุขภาพทั้งใน ระดับปัจเจกบุคคลและระดับชุมชน

The 10 Essential Public Health Operations (EPHOs) 2012 …(1) Surveillance of population health and well-being Monitoring and response to health hazards and emergencies Health protection, including environmental, occupational, food safety and others Health promotion, including action to address social determinants and health inequity Disease prevention, ……Risk Management including early detection of illness

The 10 Essential Public Health Operations (EPHOs) 2012 ….(2) Assuring governance for health and well-being Assuring a sufficient and competent public health workforce Assuring sustainable organizational structures and financing Advocacy, communication and social mobilization for health Advancing public health research to inform policy and practice

รู้สถานการณ์ และระบาดวิทยา ไปทำไม ???

สภาพภาวะคุกคามต่อสุขภาพ รอบๆตัวเรา ชุมชนของเรา เข้าใจ สภาพภาวะคุกคามต่อสุขภาพ รอบๆตัวเรา ชุมชนของเรา และชุมชนที่ตนต้องรับผิดชอบ ................. ?? .............................. ??

ใครต้องรู้ ตระหนัก ตัดสินใจ ดำเนินการ ใช้ประโยชน์อะไร ? (๑) เพื่ออะไร โดยใคร ใครต้องรู้ ตระหนัก ตัดสินใจ ดำเนินการ ประเมินสถานการณ์ ...ปัญหาสาธารณะของชุมชนหรือไม่....ความรุนแรง ....... ผู้บริหารชุมชน ผู้บริหารนโยบายและโครงการ ผู้บริการชุมชน ผู้ให้บริการดูแลผู้เสี่ยง ผู้เป้นโรค เข้าใจธรรมชาติและการกระจายของปัญหา ผู้ให้บริการ จัดลำดับความสำคัญและชี้เป้าปัญหาดำเนินการ ......... ประชาชน

ใครต้องรู้ ตระหนัก ตัดสินใจ ดำเนินการ ใช้ประโยชน์อะไร ? (๒) เพื่ออะไร โดยใคร ใครต้องรู้ ตระหนัก ตัดสินใจ ดำเนินการ สื่อสารเตือนภัย ....... ผู้บริหารชุมชน ผู้บริหารนโยบายและโครงการ ผู้บริการชุมชน ผู้ให้บริการดูแล สนับสนุนการลดเสี่ยงลดปัจจัยการระบาดของโรคสร้างสุขภาพชุมชนและประชาชน ผู้ให้บริการชุมชน อาสาสมัคร

ใครต้องรู้ ตระหนัก ตัดสินใจ ดำเนินการ ใช้ประโยชน์อะไร ? (๓) เพื่ออะไร โดยใคร ใครต้องรู้ ตระหนัก ตัดสินใจ ดำเนินการ สนับสนุนการจัดบริการคุณภาพ (ความครอบคลุม และการเข้าถึง และคุณภาพ) ......... ผู้บริหารนโยบายและโครงการ ผู้ให้บริการดูแล ผู้ให้บริการวิชาการและชุมชน อาสาสมัคร ติดตามผลของการดำเนินการต่อการเปลี่ยนแปลงและการดำเนินการ .......... ประชาชน ตั้งคำถามที่ต้องหาสาเหตุและคำตอบ ของแนวทางและเครื่องมือที่ใช้ในการลดจำนวน ความรุนแรง และผลกระทบของโรค

ประสิทธิผลการดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดจำนวนของการตาย ความพิการ ภาวะแทรกซ้อน การเกิดโรครายใหม่ในประชากร ลดการเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล ลดค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและอ้อม ลดการเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต เพิ่มการเข้าถึงบริการที่จำเป็น(เทคโนโลยีและยา) ใช้จ่ายการดูแลอย่างคุ้มค่าและลดการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่าย

สถานการณ์อะไรที่ต้องรู้ เข้าใจ และติดตาม สถานการณ์โรคและปัจจัยกำหนดที่เกี่ยวข้อง สถานการณ์ค่าใช้จ่าย ภาระพึ่งพิง และภาระการบริการ .................

ระบบเฝ้าระวังมี 2 ประเภท คือ Active Surveillance Ex. BRFSS, Survey, NHES Passive Surveillance Ex. Register 43 farms: Mortality, Morbidity, complication.

พัฒนาระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ กรมควบคุมโรค พัฒนาระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ กรอบและการดำเนินงาน ปี 2557 – 2560

Program Road Map มีฐานข้อมูลเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ จังหวัดทุกจังหวัด และมีการนำไปใช้ประโยชน์ในการตรวจจับความผิดปกติและกำหนดนโยบาย 2560 มีฐานข้อมูลเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ และจังหวัดนำร่อง เขตละ 1 จังหวัด และมีการนำไปใช้ประโยชน์ในการตรวจจับความผิดปกติและกำหนดนโยบาย 2559 2558 2557 มีฐานข้อมูลเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ ระดับประเทศ เขต และมีการนำไปใช้ประโยชน์ในการตรวจจับความผิดปกติ และกำหนดนโยบาย จัดทำคู่มือระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ

2560 2559 2558 กิจกรรม ปี 2558 – 2560 ส่วนกลาง สคร. จังหวัด กิจกรรมเดิมต่อเนื่องในปี 2559 จัดตั้งศูนย์ข้อมูลฯ ทุกจังหวัด และการนำไปใช้ประโยชน์ 2559 กิจกรรมเดิมต่อเนื่องในปี 2558 - พัฒนาฐานข้อมูลระบบเฝ้าระวัง ในระดับเขต และการนำไปใช้ประโยชน์ (ต่อ) สนับสนุนการจัดทำฐานข้อมูลระดับจังหวัด และการนำไปใช้ประโยชน์ - จัดตั้งศูนย์ข้อมูลระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ ในจังหวัดนำร่อง 1 จังหวัด และการนำไปใช้ประโยชน์ 2558 จัดตั้งศูนย์ข้อมูลระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ (สำนักระบาดวิทยา) พัฒนาฐานข้อมูลระบบเฝ้าระวัง ในส่วนกลาง และการนำไปใช้ประโยชน์ (สำนักวิชาการ) สนับสนุนการจัดทำฐานข้อมูลระดับเขต และการนำไปใช้ประโยชน์ (สำนักวิชาการ) - จัดตั้งศูนย์ข้อมูลระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ ระดับเขต - สนับสนุนการจัดทำฐานข้อมูลระดับจังหวัด และการนำไปใช้ประโยชน์

Determinants Behaviors Morbidity/Mortality Event-based Program response 1.โครงสร้างประชากร จำแนกรายภาคและจังหวัด (สำนักทะเบียนราษฎร์ ) 2. การสำมะโนประชากร (สำนักงานสถิติ) 3. การเข้าถึงระบบบริการทางสาธารณสุข (ระบบประกันสุขภาพ) 4.ความเป็นเมือง(ระบบสาธารณูปโภค/ผังเมือง) 1. การสำรวจ BRFSS (สำนักโรคไม่ติดต่อ) 2. ผลการคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อ (21/43 แฟ้ม) 3. NHES (สวรส.) 1. จำนวนผู้ป่วย/จำนวนตายด้วยโรคไม่ติดต่อ (43 แฟ้ม) 2. จำนวนตาย จากใบมรณะบัตร (กระทรวงมหาด ไทย) 1.อัตราป่วย /อัตราตาย (21/43 แฟ้ม) 2. ภาวะแทรกซ้อนจากไตวายและหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง (21/43 แฟ้ม) 3.การระบาดของโรคติดเชื้อทางเดินหายใจในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง (รายงานการระบาด) 1.การพัฒนาสุขภาพบุคลากรในเรื่องของการคัดกรอง 2.มาตรการลดปัจจัยเสี่ยงในประชากร (3อ2ส) 3.คลินิก NCD คุณภาพ

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 5 ระบบ/ 21 กลุ่มโรค Determinants Behaviors Program response Morbidity/ Mortality Event-based 2.โรคเอดส์ /วัณโรค โรคเอดส์ / โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรควัณโรค 3. โรคไม่ติดต่อ โรคไม่ติดต่อ(4 โรค) / ( 1 โรค) ยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 4. การบาดเจ็บ การจราจร จมน้ำ สามระบบ นี้ ถูกนำเสนอ ไปเกือบครบ ตามคู่มือ (มีของโรคไม่ติดต่อ สี่โรค คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและ โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง ได้นำเสนอเพียงหนึ่งโรคคือ โรคหัวใจและหลอดเลือด )โดยมีการนำเสนอเพิ่มเติมนอกคู่มือ คือ การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ Behavioral Risk Factor Surveillance System : BRFSS ปี 2557 ของ สำนักโรคติดต่อไปด้วยเรียบร้อยแล้ว รวมถึงการจัดทำ แผนการสำรวจ ในกลุ่มเฉพาะ กลุ่มพิเศษ ต่างๆ ทั้ง ห้าระบบโรค โดยสำนักระบาดเป็น focal point ในการรวบรวมจากเจ้าภาพงานทั้งหมด

Figure 1: Global monitoring framework for NCDs.

โรคไม่ติดต่อ (Noncommunicable diseases) หมายถึง “กลุ่มของโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่การเกิดโรคจากปัจจัยเสี่ยง ร่วมหนึ่งปัจจัยหรือมากกว่า ใช้ระยะเวลานาน ได้แก่ การสูบบุหรี่ การ บริโภคอาหารที่เกินไม่ถูกสัดส่วนและเหมาะสมทางโภชนาการ การขาด การออกกำลังกาย และความเครียด ฯลฯ โดยมีสาเหตุจากวิถีชีวิตและ สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีสุขภาพ (Unhealthful lifestyles and environment) ส่วนใหญ่โรคกลุ่มนี้เป็นโรคเรื้อรังซึ่งมีความสำคัญหลักทางด้าน สาธารณสุขด้วยผลกระทบของการป่วย ความพิการ และการตายก่อนวัย อันควรเป็นจำนวนมาก” แหล่งข้อมูล: องค์การอนามัยโลก พ.ศ. ๒๕๔๐

What is chronic diseases ? “ ..are mostly characterised by complex causality, multiple risk factors, long latency periods, a prolong course of illness and functional impairment or disability (AIHW 2002). The chronic diseases are the focus of the KIP set are those which are considered in the some way preventable, largely through behaviors, or those taht react favourly in terms of management and medical treatment Zif they are detected and treated in their early stages.

อย่างน้อย 4 กลุ่มโรค 4 ปัจจัยเสี่ยงหลัก เพื่อลด การตาย การเจ็บป่วย การเกิดโรค ภาระโรค ค่าใช้จ่าย กลุ่มปัจจัยเสี่ยง โรคหัวใจและหลอดเลือดรวมโรค ความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็ง ระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง บริโภคแอลกอฮอล์ในขนาดและ รูปแบบบริโภคที่อันตรายต่อสุขภาพ บริโภคยาสูบ บริโภคเกินไม่ได้สัดส่วน การเคลื่อนไหวและออกกำลังกายที่ไม่ เพียงพอ ความไม่สามารถจัดการความเครียดเรื้อรัง สหปัจจัยเสี่ยงร่วม; ภาวะเมตาโบลิคซินโดรม พฤติกรรมความไม่ปลอดภัย Infetious diseases โรคซึมเศร้า โรคสมองเสื่อมก่อนวัย โรคไตวายเรืื้อรัง บาดเจ็บ

Presentation outline The situation of NCDs in Thailand Global and Thailand movement on NCDs NCD Strategic Plans and operational plans in Thailand

Thailand : country background Thais’ population: 66 785 000 (sixty - six million) Income Group: Upper middle Approximate of population live in urban area: 34.1% Population proportion between ages 30 and 70 years: 54.3 % Life expectancy at birth in male 69.5 yrs. : female 76.3 yrs. The probability of dying between age 30-70 years from the 4 main NCDs (DM ,CVD, cancer, chronic respiratory disease) in 2012 is 16%

The speed of Population Aging The expected of percentage that Thais’ population aged over 65yrs. are rising from 7% to 14% in 2030. Source : Kinsella K, He W. An Aging World: 2008. Washington, DC: National Institute on Aging and U.S. Census Bureau, 2009.

Estimated proportion of deaths by cause (all ages , both sexes) ,Thailand, 2009 This slide shows the distribution of deaths in Thailand. NCDs are the number one silent killers in Thailand, 73% of all deaths due to NCDs. . Among NCDs, cardiovascular diseases are the leading cause of death followed by cancers, chronic respiratory diseases and diabetes.

10 leading causes of death among chronic NCDs,2009 Male Death % of total death Female 1 Stroke 25,193 10.4 26,959 14.4 2 Ischemic heart disease 18,643 7.7 Diabetes 17,570 9.4 3 Liver cancer 16,854 6.9 16,704 8.9 4 COPD 14,586 6.0 7,629 4.1 5 Bronchus & Lung cancer 10,219 4.2 Nephritis & nephrosis 7,371 3.9 6 9,643 4.0 Cervix uteri cancer 5,276 2.8 7 Cirrhosis 9,441 4,413 2.4 8 5,334 2.2 4,399 2.3 9 Colon & rectum cancer 4,284 1.8 4,237 10 Mouth & pharynx cancer 3,020 1.2 Breast cancer 3,813 2.0 The top ten causes of death divided by sex, stroke is the first caused of death in both sex. In female, diabetes were the second and the third were ISH. In Male, ISH were the second and the third were Liver CA. Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group

Top 10 causes of death by age group:2009 At forty – five to fifty – nine years Was the most people dies so prevention and control in Stroke, ISH and diabetes must due to before this age group. Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group

NCDs Death rate per 100,000 persons in 2002 – 2013 STROKE This slide show the trend of rising of NCDs. Stroke is the top and trend to rise in Thailand, Follow by IHD, DM, COPD and HT too. SOURCE : B. POLICY AND STRATEGY ,MOPH

DALYs of Chronic non-communicable diseases The disability-adjusted life year measure of population health so that nonfatal outcomes could be considered alongside mortality in the prioritization of health resources. 2,3 DALYs have been used to assess the magnitude of disease, health risks, and premature death both globally4–6 and at the national and local levels.7–10 DALY estimates have also been used to make the case for primary prevention programs for disorders such as stroke11 and in recommending priorities for funding allocation

Top 10 causes of burden of disease in DALYs by gender :2009 Rank Males DALY ('000) % Females 1 Alcohol dependence/harmful use 506 8.7 8.6 380 Diabetes 2 Traffic accidents 501 8.0 350 Stroke 3 369 6.3 5.4 236 Depression 4 HIV/AIDS 282 4.8 4.0 178 Ischaemic heart disease 5 Liver cancer 262 4.5 3.6 159 6 250 4.3 3.5 154 Cataracts 7 218 3.8 3.1 138 Osteoarthritis 8 COPD 206 2.9 129 9 Cirrhosis 176 3.0 2.7 117 Anaemia 10 Bronchus & Lung cancer 133 2.3 2.6 114   Top ten 2902 50.0 44.5 1955 Total 5808 100 4398 Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group

DALY Attributable to Risk Factors by Gender,2009 Thailand Alcohol beverage was the most risk factor in male, follow by tobacco, blood pressure and unsafe sex. In Female BMI was the most risk factors, Follow by unsafe sex and blood pressure. WSH = Water Sanitation Health Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group 10 33

Chronic disease: serious implication for economic development Type of cost Million Baht % Direct medical cost 47,315 23.8 Inpatient cost 25,037 12.6 Outpatient cost 22,278 11.2 Direct non-medical cost 3,989 2.0 Transportation cost 2,296 1.2 Out-of-pocket 1,693 0.9 Productivity loss 147,208 74.2 Income loss for premature death 144,975 73.0 Income loss for patients 1,432 0.7 Income loss for caregivers 801 0.4 Total (Million Baht) 198,512 % GDP 2.2 Per capita 3,128 NCDs causes the social and economic loss Productivity loss was the main economic problem and the next was Direct medical cost GDP2009 9,051 (nine thousand and fifty – five Billion bath) CVD 78,976 Cancer 78,255 DM 24,489 COPD 16,793 Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group

Behavioral risk factor in Thai people aged 15-74 (%) This slide I will show that the 4 behavioral risk factors such as consume of the Fruit and vegetable less than 5 standard serving per day was high as eighty – two % (WHO recommended that 5 stand serving per day), Inadequate physical activity was about eighty %, follow by Current drink and the last was current smoke source : BRFSS,BNCD

50% adults have abnormal lipid profile Large proportion of individuals have metabolic risk factors for NCDs and they go often undetected or untreated 50% adults have abnormal lipid profile One out of four adults have high blood pressure 28 % men and 40% women are overweight upward trend in childhood obesity, particularly in urban settings 6.9 % adults have diabetes Clustering of multiple risk factors in individuals

Screening for Hypertensive Diseases & Diabetes Mellitus Trend of Crude Death rate (per 100,000) in Thailand from Stroke and Key activities in 1995-2007 Hypertension Awareness Stroke Awareness & Comprehensive CVD Risk Screening Screening for Hypertensive Diseases & Diabetes Mellitus Quality Standard HT & DM Screening Non- pharmacologic Care Increase Communication Thru Salt Net Start National Exercise Campaign Start CBI for Comprehensive risk reduction Source: BNCD (ฉ.2006) and edited in 2012

Population with Specific Important Risk Factors 2005 MiIllions Overweight and Obesity ~ 16.1 Low fruits and vegetable Diet ~ 38 Physical Inactivity ~ 19 Hypertensive Diseases ~ 7.4 Diabetes ~ 3.4 แหล่งข้อมูล: สำนักโรคไม่ติดต่อ (ฉ.2549) คาดประมาณจาก ‘*’ TBRFSS2548 ‘**’ TNHEXAM2546

สถานการณ์ด้านสุขภาพ และปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ การสูญเสียทางเศรษฐกิจ: การสูญเสียผลิตภาพจากการตายก่อนวัยอันควร เนื่องจากโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ที่มา: รายงานโครงการศึกษาวิจัยแผนการลงทุนด้านสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 26 มีนาคม 2555 www.nesdb.go.th

สถานะสุขภาพประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ภาวะไขมันคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ความชุก 6.9% ความชุก 6.9% NHES III (2546-2547) NHES IV (2551-2552) เบาหวาน ทราบว่าป่วย 68.8% ทราบว่าป่วย 43.4% ควบคุมได้ 28.5% ควบคุมได้ 12.2% ความชุก 21.4% ความชุก 22.0% ความดันโลหิตสูง ทราบว่าป่วย 49.7% ทราบว่าป่วย 28.6% ควบคุมได้ 20.9% ควบคุม ได้ 8.6% ความชุก 19.4% ความชุก 15.5% ภาวะไขมันคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ทราบว่าป่วย 27.3% ทราบว่าป่วย 12.9% ควบคุมได้ 14.8% ควบคุม ได้ 6.2%

Figure 2 Effective coverage of hypertension services Source: NHES (2004, 2009)

Figure 1 Effective coverage of diabetic services Source: NHES (2004, 2009)

ลดวิถีชีวิตเสี่ยง ลดการเกิดโรค ลดการเข้าอยู่ใน รพ. ลดความพิการ ประชากรมีความตระหนัก จัดการลดเสี่ยง ลดโรค ลดเจ็บป่วย ได้รับความคุ้มครอง ได้รับการบริการอย่างมีคุณภาพ เพิ่มคุณภาพชีวิต การป้องกัน 3 ระดับ ลดวิถีชีวิตเสี่ยง ลดการเกิดโรค ลดการเข้าอยู่ใน รพ. ลดความพิการ เพิ่มคุณภาพชีวิต ประชากรทั้งหมด ความเสี่ยงต่ำ ความเสี่ยงสูง มีสัญญาณผิดปกติ เป็นโรค มีอาการ มีสภาวะแทรกซ้อน พิการ สร้างเสริมสุขภาพ และวิถีชีวิตในสิ่งแวดล้อม ป้องกันการเกิดโรค ในกลุ่มเสี่ยงสูง ป้องกันและชะลอการดำเนินโรค สู่ภาวะแทรกซ้อนและการเป็นซ้ำ ลดความรุนแรงของ ภาวะแทรกซ้อน ป้องกันการเพิ่มขึ้น ของประชากรที่มีปัจจัยเสี่ยง การจัดการรายกลุ่ม การจัดการรายบุคคล

ผู้ป่วย ตื่น รู้ ทีมงาน พร้อม รุก

ระบบสุขภาพที่สนับสนุนจากผู้บริหาร มีแนวทางเวชปฏิบัติที่มีหลักฐานอ้างอิงเป็นเกณฑ์เพื่อจัดการโรค ระบบสุขภาพที่สนับสนุนจากผู้บริหาร ระบบสารสนเทศ ทางคลินิก ที่ช่วยสนับสนุน และส่งผ่านข้อมูลถึงกันและกัน ระบบการบริการที่เชื่อมต่อถึงกัน ตลอดกระบวนการ ชุมชน ท้องถิ่น สนับสนุนทรัพยากร ระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง

จัดการ ดูแลตนเอง บริการสุขภาพ กรอบกระบวนการทำงานในระบบการจัดการโรคเรื้อรัง กลุ่มป่วยซับซ้อน, ภาวะแทรกซ้อน จัดการรายกรณี ประสานจัดการเบาหวาน กลุ่มป่วย บริการสุขภาพ กลุ่มเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ป้องกันโรค จัดการ ดูแลตนเอง กลุ่มปกติ ประชากร 70-80% สร้างเสริมสุขภาพ (S.Potisat adapted from Pippa Hague : Chronic disease self management . 2004)

รูปแบบทางระบาดวิทยา: แสดงการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดระดับบุคคล แผนภูมิ รูปแบบทางระบาดวิทยา: แสดงการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดระดับบุคคล ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ภาวะอ้วน ภาวะไขมันผิดปกติ ขาดกิจกรรมทางกาย ภาวะหมดประจำเดือน เพศ บริโภคยาสูบ อายุ สิ่งแวดล้อม บริโภคอาหารเกินไม่ได้สัดส่วน พันธุกรรม โรคที่ยังไม่แสดงอากาการทางคลินิก ภาวะการทำหน้าที่ผิดปกติของเยื่อบุภายในหลอดเลือด ภาวะหัวใจ ห้องซ้ายโต ภาวะหินนปูนเกาะหลอดเลือดหัวใจ ภาวะตีบของ หลอดเลือดสมอง ภาวะอักเสบ (Inflammation) โรคที่แสดงอากาการทางคลินิก อัมพาต (Stroke) โรคหลอดเลือดส่วนปลาย (PVD) เจ็บหน้าอก หัวใจขาดเลือด (MI) ตายกระทันหัน (Sudden Death) โรคหัวใจ ล้มเหลว (HF) แปลและปรับปรุง ๒๕๕๕

Acknowledgementt เอกสารการบรรยายได้รับการอนุเคราะห์จากผู้ทรงคุณวุฒิ กระทรวงสาธารณสุข คือ พญ. ฉายศรี สุพรศิลป์ชัย นพ. สมเกียรติ โพธิสัตย์ และทีมงาน