ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อในช่องท้อง ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง โรงพยาบาลลำพูน หน่วยงานไตเทียม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
Advertisements

1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
สถานการณ์จังหวัดสระบุรี ปี 2555
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
ขดลวดพยุงสายยาง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
การติดตาม (Monitoring)
ผู้รับผิดชอบโครงการ ICWN MICU3
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อในช่องท้อง ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง โรงพยาบาลลำพูน หน่วยงานไตเทียม

ผู้รับผิดชอบ 1. นางวัชราพร สนิทผล 2. นางเพ็ญจันทร์ กูลทะคำ 1. นางวัชราพร สนิทผล 2. นางเพ็ญจันทร์ กูลทะคำ 3. น.ส. นิภาพร เมาคำลี 4. น.ส. อำนวยพร ใจตื้อ

หลักการและเหตุผล การล้างไตทางช่องท้องเป็นการรักษาที่ผู้ป่วยและญาติจะมีบทบาทในการดูแลตนเองที่บ้านเป็นส่วนใหญ่ ส่วนการติดเชื้อในช่องท้องเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เป็นปัญหาหลักในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องที่พบได้ประมาณ 15-35 % ในจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดและการติดเชื้อในช่องท้องเป็นสาเหตุหลักของการที่ต้องเอาสายออก (Catheter Removal) การเปลี่ยนวิธีการรักษาเป็นการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม(Hemodialysis)

เนื่องจากการสูญเสียคุณสมบัติของเยื่อบุช่องท้อง นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุของการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลถึงร้อยละ 50 อีกทั้งเป็นตัวพยากรณ์อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย ทั้งจากการติดเชื้อโดยตรงหรือจากภาวะแทรกซ้อนอื่นๆที่ตามมาภายหลังการศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อในช่องท้องเพื่อทราบและติดตาม ประเมินภาวะแทรกซ้อนการเฝ้าระวังและการป้องกันจะสามารถทำให้ทราบและทำให้ผู้ให้บริการสามารถให้การดูแลได้อย่างเหมาะสม อีกทั้งการศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อ เพื่อการพัฒนาและวางแผนในการศึกษาขั้นต่อไป

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะของผู้ป่วยที่รักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องโดยเปรียบเทียบลักษณะที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะติดเชื้อเพื่อนำไปปรับวิธีการดูแล ให้คำปรึกษาและช่วยเหลือผู้ป่วยต่อไป

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ นำไปพัฒนาแนวทางการสอนผู้ป่วย เมื่อเข้าสู่โปรแกรมการสอน เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดการติดเชื้อ เพื่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ดี

รูปแบบการศึกษา การศึกษาเชิงพรรณนา (Retro) สถานที่ หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลลำพูน กลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องที่มีการติดเชื้อทางช่องท้องจำนวน 24 ราย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ใช้การรวบรวมข้อมูลเป็นหลัก แฟ้มประวัติผู้ป่วยที่ทำการล้างไตทางช่องท้อง การซักประวัติ การตรวจร่างกาย ผลชันสูตรทางท้องปฏิบัติการ เช่น Fluid c/s , Fluid exam, H/C , Pus c/s จากแผล Exit site

วิธีการเก็บข้อมูล 1.ศึกษาข้อมูลของเชื้อที่พบ

Routes Organisms Contamination - At the time of an Exchange - Due to equipment malfunction S.Epidermidis; S.aureus ;Acinetobacter Catheter related - Tunnel infection - Catheter dialysate leak - Exit site infection S.Epidermidis; S.aureus ;Pseudomonas Proteus; yeast Enteric (through the gut wall) Multiple organism in association with anaerobes and fungi 4. Hematogenous Streptococus;Mycobacterium 5. Gynaecological (through the vagina) Pseudomonas;Yeast Procedue relate - Colonoscopy - Endoscopy - Dental procedure

2. แยกประเภทเชื้อของผู้ป่วยแต่ละราย 1. Contamination มีจำนวน 17ราย ร้อยละ70.83 2. Catheter related มีจำนวน 18 ราย ร้อยละ 75.00 3. Entoric มีจำนวน 0 ราย 4. Hematogenous มีจำนวน 1 ราย ร้อยละ 8.3 5. Gynaecological มีจำนวน 0 ราย 6. Procudure relate มีจำนวน 1 ราย ร้อยละ 4.16

2. แยกประเภทเชื้อของผู้ป่วยแต่ละราย

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล จำนวนร้อยละของผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในช่องท้องแต่ละประเภทต่อจำนวนผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อจำนวนทั้งหมด

ผลการศึกษา จากผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยที่มีการ Contamination กับ Catheter related มีผลเชื้อที่คล้ายกันและอัตราของ การเกิดการติดเชื้อใกล้เคียงกัน

ชื่อเรื่อง ผู้รับผิดชอบ วันที่เริ่ม วันที่จบ เครื่องมือที่ใช้ Re- training พยาบาล CAPD 5 กรกฎาคม 2553 5 สิงหาคม 2553 1. ประเมินความรู้เรื่องการปฏิบัติตัว เช่น อาหาร การทำความสะอาดแผล 1.ให้ความรู้เรื่องการปฏิบัติตัว เช่น อาหาร การทำความ สะอาดแผล 2.ตรวจสอบเรื่องการล้างมือและเช็ดมืออย่างถูกต้องตาม 2.สอนเทคนิคเรื่องการล้างมือและเช็ดมืออย่างถูกต้องตาม ขั้นตอน 3. การเปลี่ยนถ่ายน้ำยา 3. สอนเรื่องการปฏิบัติตามเทคนิคปลอดเชื้อ

ชื่อเรื่อง ผู้รับผิดชอบ วันที่เริ่ม วันที่จบ เครื่องมือที่ใช้ Re- training พยาบาล CAPD 5 กรกฎาคม 2553 5 สิงหาคม 2553 4.การติดตามเยี่ยมบ้านหลังจากผู้ป่วยกลับไป 4.การติดตามเยี่ยมบ้านหลังจากผู้ป่วยกลับไปทำต่อที่บ้าน ทำต่อที่บ้านประมาณ 1 เดือน ประมาณ 1เดือนเพื่อประเมินสภาพแวดล้อมบริเวณที่เปลี่ยน น้ำยา รวมถึงร่างกายผู้ป่วยและความพร้อมของผู้ดูแล

สรุป หลังจากได้ทำการ Re-training ผู้ป่วยจำนวน 24 รายที่เคยติดเชื้อทางช่องท้องและมีการติดตามเยี่ยมบ้านหลังจากผู้ป่วยกลับไปทำต่อที่บ้านทำให้พบว่า 100% ผู้ป่วยไม่มีการติดเชื้อซ้ำและไม่มีการกลับมา Admit ที่โรงพยาบาลซ้ำทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น

ข้อเสนอแนะ 1.เนื่องจากจำนวนของเจ้าหน้าที่ไตเทียมมีจำนวนน้อยทำให้การดูแลผู้ป่วยไม่ทั่วถึงและไม่พอกับจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 2.เนื่องจากการทำ CAPD เป็นการเน้นผู้ป่วยทำที่บ้านทำให้เมื่อกลับไปอยู่ที่บ้านผู้ป่วยอาจละเลย หรือลดระดับการเอาใจใส่เท่าที่ควร

สวัสดี