โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Burden of Disease Thailand, 2009
Advertisements

การพยากรณ์โรคความดันโลหิตสูง
สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7.
INTREGRATION H A & H P H.
Demand in Health Sector
Disability-adjusted life year (DALYs)
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
โครงการเสริมสมรรถนะการบริหาร จัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ : District Health System Management Learning (DHML) งานพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและเวช ศาสตร์ครอบครัว.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
Burden of disease measurement
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
การส่งเสริมสุขภาพกายและโภชนาการ
Health Promotion & Environmental Health
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
พ.ญ.เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง อายุรแพทย์โรคไต โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
Burden of Diseases (BOD) Disability Adjusted Life Years(DALY)
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
Public Health Nursing/Community Health Nursing
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
การส่งเสริมสุขภาพกาย
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ มูลนิธิสุขภาพภาคใต้ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

หลักการและเหตุผล โครงการเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอ (DHML) มีการขยายให้ทุกจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 12 มีศูนย์ประสานงานและจัดการการเรียน (Learning and Coordination Center: LCC) จังหวัดละ 1 แห่ง และสร้างเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพระดับอำเภอที่เข้าร่วมเรียนรู้โครงการ (Learning Team: LT) เพิ่มขึ้น และให้สถาบันการศึกษา (Academic Institution: AI) ได้เข้ามามีบทบาทในการสนับสนุนการเรียนรู้เพิ่มขึ้น เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่ายและการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอไปอย่างมีประสิทธิภาพ บูรณาการนโยบายและการทำงานร่วมกันระหว่างหลายภาคส่วน และสามารถตอบสนองต่อปัญหาของพื้นที่ที่มีความจำเพาะและแตกต่างหลากหลาย ส่งผลให้ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่เขตเมืองรวมถึงเขตชนบทมีความเสี่ยงด้านสุขภาพลดลงและมีสุขภาวะที่ดี

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอให้สามารถขับเคลื่อนและถอดบทเรียนกระบวนการดำเนินงานของเครือข่ายในพื้นที่ได้ เพื่อพัฒนาระบบบริการแบบบูรณาการที่มีความเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service plan) สาขาต่างๆ ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ถึงตติยภูมิ เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินการเพื่อใช้วางแผนงานระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิร่วมกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขาต่างๆ ในเขตเมืองและเขตชนบทในปี 2561

กลุ่มเป้าหมาย เครือข่ายสุขภาพระบบสุขภาพอำเภอ DHS 7 จ. (LCC และ LT) ผู้รับผิดชอบงานระบบบริการปฐมภูมิของ สสจ. 7 จังหวัด แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขา NCD หัวใจ ไต สถาบันการศึกษา (AI) 7 แห่ง

วิธีการดำเนินงาน การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอให้สามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานและการถอดบทเรียนในพื้นที่ได้ การถอดบทเรียนการดำเนินงาน การติดตามและถอดบทเรียนการดำเนินงานการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตชนบทและเขตเมืองร่วมกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขาต่างๆ ในพื้นที่ การทำแผนงานระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการถอดบทเรียน รวมทั้งสรุปผลการดำเนินงานในภาพรวม เพื่อวางแผนงานระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ ร่วมกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขาต่างๆ ในปี 2561

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิร่วมกับ แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) NCD หัวใจ ไต

การถอดบทเรียน การถอดบทเรียน เครือข่าย DHS สามารถถอดบทเรียนการทำงานของตนเองแล้วสื่อสารภายในเครือข่ายเพื่อพัฒนาต่อยอดการทำงานและเสริมพลังซึ่งกันและกันและสื่อสารสาธารณะเพื่อขับเคลื่อนประเด็นในการทำงานได้ หนังสั้น DHS 6 เรื่อง งานเขียนเรื่องเล่าบทเรียน DHS 29 เรื่อง การถอดบทเรียน 4 ประเด็น

ความคาดหวัง Service plan: จะบูรณาการในทุกระดับอย่างไร? 697741

บูรณาการ สุขภาวะ: กาย จิต สังคม จิตวิญญาณ ปัจจัย: พฤติกรรม สังคม สิ่งแวดล้อม ภาคส่วน: รัฐ เอกชน ประชาสังคม บริการสาธารณสุข: ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู กลุ่มเป้าหมาย: บุคคล ครอบครัว ชุมชน

สุขภาวะ Health “Health is a state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity.” ~ WHO definition of Health ~

ประวัติชีวิตของเด็กชาย VS หญิงชรา Natural History of 2 Lives อายุหญิงชรา Longevity B ปีสุขภาวะที่เสียไปจากภาวะพิการ Years of living with disability ปีสุขภาวะที่เสียไปจากการตายก่อนวัยอันควร Years of life lost อายุเด็กชาย Longevity A สุขภาพดี Healthy 10 40 60 70 80 Age เกิด Birth ป่วย: เบาหวาน ความดัน Ill: DM, HT พิการ: อัมพาต Severe disability: Stroke อายุขัยคาดเฉลี่ย Life Expectancy ตายก่อนวัยอันควร Premature death ตายก่อนวัยอันควร Premature death

ภาระโรค Burden of Disease ตาย Death พิการ Disable เจ็บป่วยหนัก Severe illness เจ็บป่วยเล็กน้อย Mild illness ความรุนแรง severity จำนวน Amount

ปีที่สูญเสียสุขภาวะ (Disability adjusted life year - DALYs) ใช้เปรียบเทียบภาระทางสุขภาพระหว่างโรคและการบาดเจ็บต่างๆ เพื่อบอกขนาดปัญหาสุขภาพในภาพรวมของประชากร DALY = YLL +YLD

ระดับของโรค Levels of Diseases ความเจ็บป่วยIllness ความทุกข์ Suffering

The Rainbow Model (Dahlgren and Whitehead)

Prevention Primary prevention Secondary prevention Tertiary prevention B C D Age Biological onset: Cancer begins Detectable by screening: Mass 1 cm Symptoms (usual time of Dx): Mass 10 cm Severe illness: Metastasis Death

ประชากร (ในพื้นที่) เป้าหมาย (NCD CVD CKD) คัดกรอง (ในชุมชน) วินิจฉัย (ในรพช.) รักษา (ในบ้าน) ป้องกัน

บูรณาการ สุขภาวะ: กาย จิต สังคม จิตวิญญาณ ปัจจัย: พฤติกรรม สังคม สิ่งแวดล้อม ภาคส่วน: รัฐ เอกชน ประชาสังคม บริการสาธารณสุข: ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู กลุ่มเป้าหมาย: บุคคล ครอบครัว ชุมชน

การทำแผนงานระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ บูรณาการร่วมกับ Service plan NCD หัวใจ ไต 3. ไปยังไง? Strategy 4. ถึงไหนแล้ว? Indicator 2. จะไปไหน? Vision 1. อยู่ที่ไหน? SWOT

www.DHSsouth.net