งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
อำเภอนาเชือกของเรา จะมีงานวิจัยที่ดี และจำนวนมากพอ ได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม

2 การเร่งผลงานวิชาการ ปี 2559
ของ CUP วาปีปทุม

3 การเร่งผลงานวิชาการ ปี 2559
ของ CUP วาปีปทุม

4 การเร่งผลงานวิชาการ ปี 2560 ของ CUP วาปีปทุม

5 การเร่งกระบวนการ ผลิตผลงานวิชาการ ปี 2560

6 เราจะพัฒนางานประจำ เป็นงานวิจัยที่ดี และมากพอ ได้อย่างไร.....?

7 อำเภอนาเชือก.....ของเรา จะพัฒนาผลงานวิชาการ ให้ได้มาก ? ให้ได้คุณภาพ ?

8 ผลงานวิชาการ ? CQI Best Practice นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ วิจัย

9 แนวทางในการพัฒนาระบบการวิจัยของบุคลากรสาธารณสุข
ในจังหวัดมหาสารคาม ที่มีคุณภาพมากขึ้น ระบบงานในหน่วยงานมีประสิทธิภาพที่ดีด้วยระบบการวิจัย/วิชาการที่มีคุณภาพและได้รับการยอมรับทางวิชาการอย่างกว้างขวาง Output บุคลากรในองค์กรใช้ระบบการวิจัย/วิชาการพัฒนาประสิทธิภาพของงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานมีมาตรการ/ข้อกำหนด/กติกาของหน่วยงานที่เข้มแข็งที่ส่งผลดีต่อระบบวิจัย/วิชาการ หน่วยงาน/บุคลากรในหน่วยงานเกิดการเรียนรู้ด้านการพัฒนาระบบงานวิจัย/วิชาการ หน่วยงานมีการใช้ผลของงานวิจัย/วิชาการ เพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น Input/Process หน่วยงานย่อยมีการประเมินผลการดำเนินงานด้วยตนเอง เพื่อนำผลประเมินไปวางแผนในรอบปีถัดไป หน่วยงานย่อยในองค์กรร่วมกับหน่วยงานนอกในการร่วมกันพัฒนาระบบงานวิจัย/วิชาการ หน่วยงานย่อยในองค์กรแสวงหาความร่วมมือจากหน่วยงานนอกในการพัฒนาระบบงานวิจัย/วิชาการ หน่วยงานย่อยในองค์กรมีการจัดกิจกรรมพัฒนาระบบงานวิจัย/วิชาการครบถ้วนทุกกิจกรรม หน่วยงานย่อยในองค์กรเป็นผู้กำหนดแนวทางพัฒนาระบบงานวิจัย/วิชาการ โดยผู้นำองค์กรเป็นเพียงผู้สนับสนุน ทุกหน่วยงานย่อยในองค์กรร่วมกันสร้างและใช้แผนในการร่วมกันพัฒนาระบบงานวิจัย/วิชาการ ทุกหน่วยงานย่อยในองค์กร ร่วมกันวางแผนในการพัฒนาระบบงานวิจัย/วิชาการ Context กลุ่มองค์กรวิชาชีพในหน่วยงาน ร่วมกันพัฒนางานวิชาการที่สอดคล้องกับงานในหน้าที่รับผิดชอบ การกำหนดกติกาหรือข้อบังคับของหน่วยงานด้านการพัฒนาระบบงานวิจัย/วิชาการให้ชัดเจนและเข้มแข็ง มีการลงนามในข้อตกลงของบุคลากรในองค์กรกับผู้บริหารหน่วยงานในการพัฒนาระบบงานวิจัย/วิชาการ ผู้นำหน่วยงานประกาศเจตนารมณ์การพัฒนาระบบงานวิจัย/วิชาการอย่างชัดเจนและสื่อสารสู่บุคลากรทุกคนอย่างมีประสิทธิภาพ

10 คำถามสำหรับวันนี้ 1.เราจะเขียนมาประจำที่ทำมาแล้วในปี เป็นงาน R2R ได้อย่างไร ? 2.งานประจำปี 60 จะทำให้เป็นงาน R2R ที่มีคุณภาพ ได้อย่างไร ?

11 ประเด็นเรื่องที่สำคัญของวิชาการ 2559-2560
1.OV/CCA (ทั้ง 5 ยุทธศาสตร์) 2.TSH, ภาวะไอโอดีน 3.พัฒนาการ, สติปัญญา, ผล DSPM 4.GFR, CVD Risk, ความรุนแรงของโรคไต 5.ผส. (QL, ADL, รร.-ชมรม, พัฒนาจิต) 6.DM (QS, ลด YLL, ลดเสี่ยง, ชุมชนจัดการ) 7.Stroke, STEMI (QS, ป้องกัน, การจัดการโรค) 8.ตา (นร.ป.1, DR-DM, ต้อกระจก ผส.) 9.วัยรุ่นตั้งครรภ์ 10.ปัญหาใน 5 กลุ่มวัย และงาน PP ในกองทุนตำบล

12 ดำเนินงานตามแนวทาง ประเด็นเรื่องที่สำคัญของวิชาการ 2559-2560
แผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพ จังหวัดมหาสารคาม ปี และ กำหนดตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560

13 กระบวนการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพ และตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560
1.แผนชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) แนวทางดำเนินงานปี 2560 1.การจัดลำดับ ความสำคัญ ของปัญหา สาธารณสุข ปี 2560 (10 อันดับ) การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพ จังหวัดมหาสารคาม ปี และตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560 2.ผลการดำเนินงานสาธารณสุข ปี 2559 3.สาเหตุการตาย/การป่วย/โรค เฝ้าระวัง/YLLs 4.แผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม ทบทวนปี 2560 แผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม ปี วิสัยทัศน์ ประชาชนจังหวัดมหาสารคาม มีสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วมจัดระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน ภายในปี 2561 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้เป็นเลิศ (3 เป้าประสงค์) ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการให้เป็นเลิศ (5 เป้าประสงค์) ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรให้เป็นเลิศ (1 เป้าประสงค์) ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารให้เป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (3 เป้าประสงค์) 12 เป้าประสงค์ 14 แผนงานหลัก 81 ตัวชี้วัด

14 การวิเคราะห์ปัญหาสาธารณสุข 10 อันดับแรก
ของจังหวัดมหาสารคาม ปี ลำ ดับที่ ปัญหาสาธารณสุข คะแนนรวม 1 มะเร็งตับ+ตับแข็ง+มะเร็งท่อน้ำดี (YLLs) 16 2 โรคไต+ CKD (YLLs) 3 โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) (YLLs) 15 4 โรคหัวใจขาดเลือด (IHD) (YLLs) + STEMI(ตรก.) 14 5 MCH+พัฒนาการเด็ก (ตรก.) 6 IQ เด็กและภาวะการขาดไอโอดีน (ตรก.) 7 การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง (YLLs) 13 8 เบาหวาน+ความดันโลหิตสูง (YLLs) 9 อุบัติเหตุทางถนน (YLLs) 12 10 มะเร็งปอด (YLLs) 11 วัณโรคทุกชนิด (สาเหตุตาย) D.H.F.(506) เด็กนักเรียนอ้วน (ตรก.) เอดส์ (สาเหตุตาย) การบริโภคแอลกอฮอล์ (ตรก.) การฆ่าตัวตายและการถูกฆ่าตาย (สาเหตุตาย) 17 Acute diarrhea+Food poisoning (506) 18 มะเร็งปากมดลูก (ตรก.) 19 ภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์และการคลอด (ผป.ใน) 20 ภาวะโลหิตจาง (ผป.ใน) 21 การส่งต่อออกนอกเขตบริการ (ตรก.) ปัญหาสาธารณสุข 10 อันดับแรก 1. มะเร็งตับ มะเร็งท่อน้ำดี และตับแข็ง 2. โรคไต และ CKD 3. โรคหลอดเลือดสมอง และโรคหัวใจขาดเลือด 4. MCH พัฒนาการเด็ก IQ เด็ก และการขาดไอโอดีน 5. การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง 6. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และเด็กนักเรียนอ้วน 7. อุบัติเหตุทางถนน 8. มะเร็งปอด 9. วัณโรค 10.D.H.F ข้อมูลประกอบการจัดลำดับความสำคัญ (1) YLLs (2) สาเหตุการตาย (3) สาเหตุการป่วยใน (4) สาเหตุการป่วยนอก (5) โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 4 องค์ประกอบในการจัดเรียงลำดับ (1) Size of Problem or Prevalence (2) Severity of Problem (3) Ease of management (4) Community Concern

15 การเปรียบค่า YLLs (ปี) จากสาเหตุการตาย 10 อันดับแรก
ของปี 2552 กับปี ของจังหวัดมหาสารคาม สาเหตุการตาย 2552 2557 การเพิ่มขึ้น/ลดลง(+/-) ของปี 2557 เทียบปี 2552 จำนวนผู้เสียชีวิต ค่า YLLs (ปี) 1.มะเร็งตับ 678 9,842 424 6,228 -1.58 เท่า 2.โรคไต 270 3,673 443 6,008 +1.64 เท่า 3.การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง 129 1,343 415 5,962 +4.44 เท่า 4.โรคหลอดเลือดสมอง 528 6,504 327 4,705 -1.38 เท่า 5.อุบัติเหตุทางถนน 313 7,526 192 4,445 -1.69 เท่า 6.เบาหวาน 890 11,801 337 4,406 -2.68 เท่า 7.โรคหัวใจขาดเลือด 292 3,795 173 2,469 -1.54 เท่า 8.มะเร็งปอด 165 2,362 159 2,187 -1.08 เท่า 9.ตับแข็ง 215 3,419 114 2,136 -1.60 เท่า 10.มะเร็งท่อน้ำดี 32 444 113 1,515 +3.41 เท่า รวม 3,512 50,709 2,697 40,062

16 แผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม ปี 2558-2561
ความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม กับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) และตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560 กระทรวงสาธารณสุข วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพที่รวมพลังสังคมเพื่อประชาชนสุขภาพดี พันธกิจ : พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน เป้าหมาย : ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข และระบบสุขภาพยั่งยืน Cooperate KPIs 8 KPIs 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (LE) ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (HALE) ไม่น้อยกว่า 72 ปี 3. Happy Work Life Index ≥50 4. Happy Workplace Index ≥57 5. Access 6. Coverage 7. Quality 8. Governance PA 2560 และ ตรวจราชการ 2560 4 Excellence (PA 29 KPI และสตป. 39 KPI)=47 KPI แผนยุทธศาสตร์เขตสุขภาพที่ 7 ปี 2560 แผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม ปี 2560 (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เป้าประสงค์ที่ 4.3) แผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม ปี วิสัยทัศน์ ประชาชนจังหวัดมหาสารคาม มีสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วมจัดระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน ภายในปี 2561 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้เป็นเลิศ (5 เป้าประสงค์) ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการให้เป็นเลิศ (3 เป้าประสงค์) ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรให้เป็นเลิศ (1 เป้าประสงค์) ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารให้เป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (3 เป้าประสงค์) 12 เป้าประสงค์ 14 แผนงานหลัก 92 ตัวชี้วัด

17 พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้เป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 2
แผนที่ 9 : การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ แผนที่ 10 : การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ แผนที่ 11 : การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ แผนที่ 12 : การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ แผนที่ 13 : การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ แผนที่ 14 : การปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ แผนที่ 5 : การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster) แผนที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) แผนที่ 7 : การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ แผนที่ 8 : การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ แผนที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิต(ด้านสุขภาพ) ทุกกลุ่มวัย แผนที่ 2 : การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ แผนที่ 3 : การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ แผนที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้เป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการให้เป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรให้เป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารให้เป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล 10 โครงการ/39 KPIs 17 โครงการ /27 KPIs 6 โครงการ /11 KPIs 3 โครงการ /4 KPIs

18 วิสัยทัศน์ : ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม
ประชาชนจังหวัดมหาสารคาม มีสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วมจัดระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน ภายในปี 2561 ประชาชนสุขภาพดี 1. LE ≥80 Y 2. HALE ≥72 Y เจ้าหน้าที่มีความสุข 1. Happy Work Life Index ≥50 2. Happy Workplace Index ≥57 ระบบสุขภาพยั่งยืน 1. Access 2. Coverage 3. Quality 4. Governance 1. พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้เป็นเลิศ 2. พัฒนาระบบบริการให้เป็นเลิศ 3. พัฒนาบุคลากรให้เป็นเลิศ 4. พัฒนาระบบบริหารให้เป็นเลิศ ด้วยธรรมาภิบาล PIRAB 6 Building Blocks MOPH PMQA 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิต (ด้านสุขภาพ) ทุกกลุ่มวัย 2. การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวด ล้อม 5. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (PCC) 6. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) 7. การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ 8. การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ 9. การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 10. การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ 11. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 12. การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ 13. การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ 14. การปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ 16 KPI 10 11 2 5 15 4 3 7 1 M : Mastery / O : Originality / P : People centered approach / H : Humility

19 จุดเร่ง จ. มหาสารคาม ปี 2560 วิสัยทัศน์
ประชาชนจังหวัดมหาสารคามมีสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วม จัดระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน ภายในปี 2561 จุดเร่ง จ. มหาสารคาม ปี 2560 ประชาชนสุขภาพดี 1. LE ≥80 Y 2. HALE ≥72 Y เจ้าหน้าที่มีความสุข 1. Happy Work Life Index ≥50 2. Happy Workplace Index ≥57 ระบบสุขภาพยั่งยืน 1. Access 2. Coverage 3. Quality 4. Governance 1. พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้เป็นเลิศ 2. พัฒนาระบบบริการให้เป็นเลิศ 3. พัฒนาบุคลากรให้เป็นเลิศ 4. พัฒนาระบบบริหารให้เป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล PIRAB 6 Building Blocks MOPH PMQA 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิต (ด้านสุขภาพ) ทุกกลุ่มวัย 2. การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวด ล้อม 5. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (PCC) 6. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) 7. การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ 8. การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ 9. การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 10. การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ 11. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 12. การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ 13. การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ 14. การปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ 16 KPI 10 11 2 5 15 4 3 7 1 M : Mastery / O : Originality / P : People centered approach / H : Humility

20 จุดหนัก จ. มหาสารคาม ปี 2560 วิสัยทัศน์
ประชาชนจังหวัดมหาสารคามมีสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วม จัดระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน ภายในปี 2561 จุดหนัก จ. มหาสารคาม ปี 2560 ประชาชนสุขภาพดี 1. LE ≥80 Y 2. HALE ≥72 Y เจ้าหน้าที่มีความสุข 1. Happy Work Life Index ≥50 2. Happy Workplace Index ≥57 ระบบสุขภาพยั่งยืน 1. Access 2. Coverage 3. Quality 4. Governance 1. พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้เป็นเลิศ 2. พัฒนาระบบบริการให้เป็นเลิศ 3. พัฒนาบุคลากรให้เป็นเลิศ 4. พัฒนาระบบบริหารให้เป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล PIRAB 6 Building Blocks MOPH PMQA 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิต (ด้านสุขภาพ) ทุกกลุ่มวัย 2. การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวด ล้อม 5. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (PCC) 6. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) 7. การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ 8. การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ 9. การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 10. การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ 11. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 12. การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ 13. การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ 14. การปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ 16 KPI 10 11 2 5 15 4 3 7 1 M : Mastery / O : Originality / P : People centered approach / H : Humility

21 แผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดมหาสารคาม ปี 2560
ความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม กับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม ปี 2560 แผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดมหาสารคาม ปี 2560 วิสัยทัศน์ “เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรและอาหารคุณภาพ ศูนย์กลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ปรับโครงสร้างการผลิตด้านการเกษตรให้เอื้อต่อการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับสู่การเป็นศูนย์กลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน สู่สังคมรู้รักสามัคคี เทิดทูนสถาบันของชาติ เอื้ออาทรและสมานฉันท์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เด็กมหาสารคามฉลาด แผนยุทธศาสตร์ ระบบสุขภาพ จังหวัดมหาสารคาม ประชาชนมหาสารคาม มีสุขภาพดี อายุยืนยาว

22 ประเด็นเรื่องที่สำคัญของวิชาการ 2560-2561

23 ประเด็นเรื่องที่สำคัญของวิชาการ 2560-2561
ซักถาม

24 วงรอบของการโชว์วิชาการ 2560
1.งานมหกรรมคุณภาพระดับ CUP 2.งานวิชาการระดับจังหวัด (พค.) 3.งานวิชาการระดับประเทศ R2R Thailand (มิย.) 4.งานวิชาการระดับเขต (สค.) 5.งานวิชาการระดับประเทศ กระทรวง (กย.) 6.งานวิชาการระดับประเทศ (วศม.) (ธค.)

25 วิจัยเชิงปฏิบัติการ

26 Action Research Carr & Kemmis (1986) แบ่ง Action Research ออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1.Technical Action Research (ผู้วิจัยทำตัวเป็นผู้เชี่ยวชาญ) 2.Practical Action Research (ผู้วิจัยมีส่วนร่วมกับผู้ร่วมวิจัยมากขึ้น) 3.Participatory Action Research (ทั้งผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย ต่างร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ และร่วมประเมิน)

27 ขั้นตอนการวิจัยของ Action Research
การวิจัยระยะที่ 1 การประเมินสถานการณ์และการวางแผนพัฒนา/แก้ไขปัญหา การวิจัยระยะที่ 2 การดำเนินการพัฒนา/แก้ไขปัญหา การวิจัยระยะที่ 3 การประเมินผลการดำเนินการพัฒนา/แก้ไขปัญหา 1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพ/สมรรถนะของแกนนำชุมชนและเจ้าหน้าที่ในการพัฒนาชุมชน 1.ปัญหาที่เรามีในปัจจุบัน ? 2.เราจะแก้ไขปัญหา/พัฒนางานอย่างไร ? แผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรมดำเนินงาน ที่จะแก้ปัญหาในปัจจุบัน ? ประเมินผลแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมดำเนินงาน ที่ดำเนินการไปแล้ว

28 กลวิธีสำหรับวันนี้ Action Research
1.เราจะเขียนมาประจำที่ทำมาแล้วในปี เป็นงาน R2R ได้อย่างไร ? Action Research 3 ระดับ 1.Technical Action Research (ผู้วิจัยทำตัวเป็นผู้เชี่ยวชาญ) 2.Practical Action Research (ผู้วิจัยมีส่วนร่วมกับผู้ร่วมวิจัยมากขึ้น) 3.Participatory Action Research (ทั้งผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย ต่างร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ และร่วมประเมิน) 2.งานประจำปี 60 จะทำให้เป็นงาน R2R ที่มีคุณภาพ ได้อย่างไร ? ผลงานที่เรามีแล้ว 1.CQI 2.Best Practice 3.นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์

29 จากการดำเนินงานที่ผ่านมา
ปัญหา เพื่อการวิจัย ในภาพรวมประเทศและจังหวัดมหาสารคาม ยังไม่มีการประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการดำเนินงานนี้จากผู้ประเมินภายนอก เพื่อให้.... หมู่บ้านจัดการสุขภาพที่เกิดขึ้นมีศักยภาพเข้มแข็ง มาตรฐานและยั่งยืน ....ทำให้ ประชาชน/ชุมชนพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้อย่างแท้จริง เพื่อ...... -ประเมินผลและยืนยันผลการดำเนินงาน -การสรุปปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน -แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานให้มีคุณภาพมากขึ้น -พัฒนา/ยกระดับเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพให้เข้มแข็งได้อย่างไร

30 ขั้นตอนการวิจัย ระยะที่ 1 รอบการดำเนินงานปี 2556
จังหวัดกำหนดการพัฒนาด้วย 6 กิจกรรมสำคัญ แล้วร่วมงานวิชาการกระทรวงปี 2556 ประชุมเชิงปฏิบัติการในแกนนำประสานการวิจัยระดับ CUP การแจงแจงความถี่ ระยะที่ 2 รอบการดำเนินงานปี 2557 จังหวัดและเครือข่ายร่วมกำหนดการพัฒนาด้วย 10 กิจกรรมสำคัญ แล้วร่วมงานวิชาการกระทรวงปี 2557 Content analysis -เชิงปริมาณ -เชิงคุณภาพ -เชิงปริมาณ การแจงแจงความถี่

31 ปัญหา เพื่อการวิจัย ปัญหาและสิ่งที่ต้องพัฒนา จากการวิเคราะห์สถานการณ์
ก่อนการพัฒนา ปัญหา เพื่อการวิจัย ผลการประเมินการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพของชุมชน 5 ด้าน การร่วมกัน เรียงลำดับปัญหาการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ การร่วมกัน วางแผนแก้ไขปัญหาและพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ (การวิจัยขั้นตอน ที่ 2) ผลการประเมินระดับศักยภาพการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพของชุมชน การประเมิน (6 ด้าน) 1.ด้านการรับรู้ 2.ด้านการมีส่วนร่วม 3.ด้านการได้รับผลประโยชน์ 4.ด้านความภาคภูมิใจ 5.ด้านความรู้ 6.ด้านทัศนคติ ต่อการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ในกลุ่มผู้นำระดับครอบครัว และแกนนำ/ตัวแทนชุมชน ผลการประเมินศักยภาพของแกนนำและตัวแทนชุมชนในการจัดการสุขภาพชุมชน 5 ด้าน

32 ขั้นตอนการวิจัย ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการดำเนินการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 1.การประเมินผลระหว่างดำเนินงาน 2.การประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นแผนงาน 3.การสรุปผลการพัฒนาและปัญหาจากการพัฒนาตามแผน ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนแก้ไขปัญหาและพัฒนา 1.การวางแผนแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 2.การกำหนดแผนพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 3.การเรียนรู้จาก Best Practice ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหา 1.การศึกษาสภาพทั่วไปของชุมชน /ปัญหาการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพที่ผ่านมา 2.ปัญหาการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพที่ผ่านมา/การมีส่วนร่วม ในการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพของชุมชน 3.การระบุปัญหาและเรียงลำดับความสำคัญของปัญหา ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการพัฒนาตามแผนที่กำหนด 1.การดำเนินการพัฒนาพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพตามแผนที่กำหนด 2.การจัดการความรู้กับชุมชนที่ประสบผลสำเร็จในการพัฒนา 3.การรายงานความก้าวหน้าของแผน/กิจกรรม

33 สรุปการพัฒนารูปแบบหมู่บ้านจัดการสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

34 ความคล้ายคลึงของกระบวนการวิจัย กระบวนการบริหารและกระบวนการพัฒนาคุณภาพ

35 (Evaluation Research)
วิจัยประเมินผล (Evaluation Research)

36 (Evaluation Research)
การวิจัยประเมินผล (Evaluation Research) เป็นรูปแบบการวิจัยชนิดหนึ่ง เหมือนการวิจัยเชิงสำรวจ แต่การวิจัยประเมินผล เป็นวิธีการวิจัยที่มุ่งหาความรู้+ความจริงมาหาคุณค่าของสิ่งที่วิจัยนั้น เพื่อให้ผู้บริหารคิด/สนใจว่าความยุติโครงการหรือให้ดำเนินการต่อไป การวิจัยประเมินผล สามารถดำเนินการประเมินได้ใน 3 ระดับ 1. ก่อนการดำเนินงาน 2. ระหว่างดำเนินงาน 3. สิ้นสุดโครงการ

37 กระบวนการและขั้นตอนการทำวิจัยประเมินผล
ขั้นที่ 1 เลือกโครงการและตั้งหัวข้อวิจัย ขั้นที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ขั้นที่ 3 กำหนดปัญหา เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการประเมิน ขั้นที่ 4 ออกแบบวิจัย วางแผนวิจัยประเมิน ขั้นที่ 5 เก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูลและแปรผล ขั้นที่ 7 การเสนอรายงานวิจัยประเมินผล

38 ของการประเมินโครงการ
รูปแบบ ของการประเมินโครงการ

39

40 วิจัยประเมินผล โดยใช้รูปแบบ
CIPP Model

41 การประเมินผล CIPP Model
การประเมินด้านบริบท หรือประเมินเนื้อความ (context Evaluation ) เป็นการศึกษาปัจจัยพื้นฐานที่นำไปสู่การพัฒนาเป้าหมายของโครงการ ได้แก่ บริบทของสภาพแวดล้อม นโยบาย วิสัยทัศน์ ปัญหา แหล่งทุน สภาพความผันผวนทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ตลอดจนแนวโน้มการก่อตัวของปัญหาที่อาจจะเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินโครงการ การประเมินปัจจัยป้อน (Input Evaluation) เพื่อต้นหาประสิทธิภาพขององค์ประกอบ ที่นำมาเป็นปัจจัยป้อน อาจจะจำแนกเป็นบุคคล สิ่งอำนวย ความสะดวก เครื่องมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ศักยภาพการบริหารงาน ซึ่งแต่ละปัจจัยก็ยังจำแนกย่อยออกไปอีก เช่น บุคคล อาจพิจารณาเป็นเพศ อายุ มีสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ ความพึงพอใจ ความคาดหวัง ทัศนคติ ศักยภาพ ความสามารถ ประสบการณ์ ความรู้ คุณวุฒิทางการศึกษา ถิ่นที่อยู่และลักษณะกระบวนการกลุ่ม

42 การประเมินผล CIPP Model
การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการศึกษาต่อจากการประเมินบริบทและปัจจัยป้อนว่า กระบวนการเป็นไปตามแผนที่วางไว้ เป็นการศึกษาค้นหาข้อบกพร่อง จุดอ่อน หรือจุดแข็งของกระบวนการบริหารจัดการโครงการที่จะนำโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ ที่วางไว้ว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด การประเมินผลิตผล (Product Evaluation) เป็นการตรวจสอบประสิทธิผลของโครงการ โดยเฉพาะความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์กับผลลัพธ์ที่ได้แล้วนำเกณฑ์ที่กำหนดไว้ไปตัดสินเกณฑ์มาตรฐานนั้นอาจจะกำหนดขึ้นเองหรืออาศัยเกณฑ์ที่บุคคลหรือหน่วยงานอื่นกำหนด

43 การประเมินผล CIPP Model
ผลลัพธ์ของการประเมิน ความสำเร็จของแผนยุทธศาสตร์ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ กรอบ การประเมินบริบท 1.การกำหนดนโยบายของระดับจังหวัดและอำเภอ 2.ความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์ระดับอำเภอและระดับจังหวัด 3.ความครบถ้วนของตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตร์ระดับอำเภอและระดับจังหวัด 4.การเตรียมองค์กร ประสิทธิผลของการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพของระดับอำเภอและระดับจังหวัด ประกอบด้วย (1) ความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ (2) ความครบถ้วนของตัวชี้วัด (3) ผลของตัวชี้วัดในแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพระดับอำเภอและระดับจังหวัด กระบวนการเรียนรู้แบบสหวิทยาการ 1.การวิเคราะห์และการประเมินสภาพ 2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทีม/ภายในทีม 3.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทีมระดับนโยบาย/ทีมระดับปฏิบัติการ การมีส่วนร่วม/ความหลากหลาย 1.ทีมระดับนโยบายและทีมระดับปฏิบัติการ 2.ระหว่างทีมปฏิบัติการ 3.ภายในทีมระดับนโยบาย/ทีมระดับปฏิบัติการ การประเมินปัจจัยนำเข้า การประเมินกระบวนการ การประเมินผลผลิต 1.แผนปฏิบัติการ 2.การสนับสนุนงบประมาณดำเนินการ 3.การเตรียมบุคลากร 1.การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติระหว่างจังหวัดกับอำเภอ 2.การถ่ายทอดนโยบายสู่ผู้ปฏิบัติของหน่วยงาน 3.การนิเทศ และการควบคุมกำกับการดำเนินงาน 1.การประเมินตัวชี้วัด 2.การประเมินปัญหาการดำเนินงาน 3.การกำหนดแนวทางพัฒนาในรอบปีถัดไป

44 การประเมินผล CIPP Model
การประเมินบริบท การประเมินปัจจัยนำเข้า การประเมินกระบวนการ การประเมินผลผลิต แนวทางพัฒนา การดำเนินโครงการด้าน PP ของกองทุนฯ ในรอบปีถัดไป กรอบ 1.การกำหนดนโยบายด้าน PP ของระดับท้องถิ่น 2.ความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์ระดับอำเภอและระดับจังหวัดด้าน PP กับแผนปฏิบัติการกองทุนฯ 3.ความครบถ้วนของกลุ่มเป้าหมายดำเนินงาน ประสิทธิผลในการจัดการปัญหาสุขภาพชุมชนของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ในจังหวัดมหาสารคาม หมายถึง ผลการดำเนินงานภาพรวมตำบลเทียบกับเป้าหมายที่กำหนดในแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม ปี และกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานในปีงบประมาณ ใน 5 กลุ่มวัย คือ 1) กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 2) กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี 3) กลุ่มเด็กโตและวัยรุ่นอายุ 6-24 ปี 4) กลุ่มผู้ใหญ่ ปี 5) กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป กระบวนการเรียนรู้แบบสหวิทยาการ 1.การวิเคราะห์และการประเมินสภาพ 2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทีม/ภายในทีม การมีส่วนร่วม/ความหลากหลาย 1.ทีมระดับนโยบายและทีมระดับปฏิบัติการ 2.ระหว่างทีมปฏิบัติการ 3.ภายในทีมระดับปฏิบัติการ 1.โครงการใน 5 ประเภท 2.การกำหนดกลุ่มเป้าหมายดำเนินงาน 3.งบประมาณดำเนินการในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย 3.การเตรียมความพร้อมของผู้ดำเนินงานโครงการ 1.การจัดการงบประมาณโครงการ 2.การควบคุมกำกับการดำเนินงานตามโครงการ 3.การรายงานผลดำเนินงานตามโครงการ 1.การประเมินผลกระบวนการ 2.การประเมินผลตัวชี้วัดด้าน PP 3.การประเมินปัญหาการดำเนินงานของโครงการ SWOT Analysis

45 วันนี้ อำเภอของเรา จะตั้งเป้าหมาย จำนวนผลงานวิชาการ ให้ได้มาก.......?
ให้ได้คุณภาพ ?

46 ซักถาม


ดาวน์โหลด ppt สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google