งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
ณ ห้องกิตติ ลิ่มอภิชาต ชั้น 2 อาคารเรียนรวม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา วันศุกร์ที่ 14 กรกฎาคม 2560 เวลา น.

2 ระเบียบวาระที่ 1 แจ้งให้ที่ประชุมทราบ (13.00-13.30)
ระเบียบวาระที่ 1 แจ้งให้ที่ประชุมทราบ ( )

3 ระเบียบวาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 6/2559 (13.30-13.45)
ระเบียบวาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 6/2559 ( )

4 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง วาระที่ 3.1 ( ) DHML วาระที่ 3.2 ( ) DHS Academy และโครงการละงูสร้างสุข

5 วาระที่ 3.1 DHML โครงการการเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพอ. ปี 2560 งบประมาณ จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา วัตถุประสงค์ เพื่อ พัฒนาศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายระบบสุขภาพอ.ให้สามารถขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานและการถอดบทเรียนของเครือข่ายในพื้นที่ได้ พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในเขตชนบทและเขตเมืองที่มีความเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขาต่างๆ ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ถึงตติยภูมิ ถอดบทเรียนการดำเนินงานเพื่อใช้วางแผนงานระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิเขตเมืองและเขตชนบทในปี 2561

6 วาระที่ 3.1 DHML กิจกรรมของโครงการ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายระบบสุขภาพอ. การถอดบทเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการดำเนินงานการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตชนบทและเขตเมืองร่วมกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) ในพื้นที่ การทำแผนระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ ร่วมกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) ปี 2561

7 วาระที่ 3.1 DHML การดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา
1. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในเขตชนบทและเขตเมืองที่มีความเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) ครั้งที่ 1” วันที่ 5–6 พ.ค ณ โรงแรมหาดใหญ่พาราไดซ์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 2. การขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานและการถอดบทเรียนของเครือข่ายในพื้นที่ วันที่ 15 มิถุนายน 2560 ณ โรงพยาบาลบางแก้ว จ.พัทลุง วันที่ 16 มิถุนายน 2560 ณ สำนักงานสาธารณสุขอ.กันตัง จ.ตรัง วันที่ 4 กรกฎาคม 2560 ณ รพ.สต.ทับช้าง อ.นาทวี จ.สงขลา

8 การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในเขตชนบทและเขตเมือง ที่มีความเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan)” (ต่อ) เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาแนวทางการดำเนินงานร่วมกันแบบบูรณาการระหว่าง คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service plan) ระดับเขตและจ. ศูนย์ประสานงานและจัดการการเรียน (Learning and Coordinating Centre: LCC) สถาบันการศึกษา (Academic Institution: AI)

9 การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในเขตชนบทและเขตเมือง ที่มีความเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan)” (ต่อ) ประเด็นในการดำเนินงาน ระบบบริการปฐมภูมิที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) จ.สงขลา ประเด็นการคัดกรอง CKD จ.พัทลุง ประเด็นการคัดกรอง NCD ในกลุ่มเสี่ยงสูง (DM/HT) จ.ตรัง ประเด็นการคัดกรอง NCD ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ขึ้นไป จ.สตูล ประเด็นการคัดกรอง NCD ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัย และผู้ป่วยในคลินิก DM/HT จ.ปัตตานี ประเด็นโรคหัวใจและหลอดเลือด จ.ยะลา ประเด็น NCD จ.นราธิวาส ประเด็นการคัดกรอง CKD ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการคัดกรอง CVD Risk ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มเสี่ยง และประชาชนทั่วไป

10 การขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานและการถอดบทเรียน ณ โรงพยาบาลบางแก้ว จ
การขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานและการถอดบทเรียน ณ โรงพยาบาลบางแก้ว จ.พัทลุง ประเด็น NCD จ.พัทลุง ด้านการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงสูง (DM/HT) เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นำเข้าสู่กระบวนการวินิจฉัยและดูแลต่อเนื่อง แผนการดำเนินงานต่อไป การหาช่องว่างของระบบการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยของจ. การให้แพทย์ออกตรวจที่ รพ.สต. ทุกเดือน สสจ.พัทลุงจะนำข้อเสนอเข้าหารือร่วมกันในที่ประชุมจ.

11 การขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานและการถอดบทเรียน ณ สำนักงานสาธารณสุขอ
การขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานและการถอดบทเรียน ณ สำนักงานสาธารณสุขอ.กันตัง จ.ตรัง ประเด็น NCD จ.ตรัง ด้านการคัดกรองในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ขึ้นไป แผนการดำเนินงานต่อไป การจัดตั้ง NCD Board เพื่อบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างระบบบริการปฐมภูมิ และ Service plan ทั้งในระดับจ.และอ. โดยมีการแบ่งทีมดูแลผู้ป่วยในพื้นที่และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน การปรับพฤติกรรมผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงโดยใช้เครื่องมือปิงปองเจ็ดสี เริ่มดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.ย่านซื่อ อ.กันตัง เป็นพื้นที่นำร่อง

12 การขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานและการถอดบทเรียน ณ รพ. สต. ทับช้าง อ
การขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานและการถอดบทเรียน ณ รพ.สต.ทับช้าง อ.นาทวี จ.สงขลา ประเด็น CKD จ.สงขลา จากปัญหาการคัดกรองต่ำ ทั้งในกลุ่มที่ไม่ผ่านการคัดกรองและกลุ่มที่ผ่านการคัดกรอง แผนการดำเนินงานต่อไป การตรวจสอบข้อมูลของผู้ป่วย CKD การเก็บข้อมูลรายบุคคล ทั้งกลุ่มที่ผ่านการคัดกรองและไม่ผ่านการคัดกรอง ด้วยเครื่องมือ Check List

13 แผนการดำเนินกิจกรรม DHML
การขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานและการถอดบทเรียนของเครือข่ายในพื้นที่ รอบที่ 1 วันที่ 19 กรกฎาคม 2560 ณ โรงพยาบาลละงู จ.สตูล วันที่ 26 กรกฎาคม 2560 ณ โรงพยาบาลรามัน จ.ยะลา วันที่ 3 สิงหาคม 2560 ณ สำนักงานสาธารณสุข จ.ปัตตานี วันที่ 4 สิงหาคม 2560 ณ โรงพยาบาลตากใบ จ.นราธิวาส การขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานและการถอดบทเรียนของเครือข่ายในพื้นที่ รอบที่ 2 วันที่ 8 สิงหาคม 2560 ณ รพ.กงหรา จ.พัทลุง วันที่ 9 สิงหาคม 2560 ณ สำนักงานสาธารณสุข อ.กันตัง จ.ตรัง

14 ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา
วาระที่ 4.1 ( ) นำเสนอแผนการดำเนินงานของโครงการขับเคลื่อน เขตสุขภาพที่ 12 โดยเครือข่ายอ.สุขภาพที่มี ศักยภาพการดูแลคุณภาพชีวิตประชาชนด้วยพหุภาคี สุขภาพ (DHS South phase 2) วาระที่ 4.2 ( ) การเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการ DHS South phase 2 วาระที่ 4.3 ( ) การนัดหมายวันประชุมคณะกรรมการ DHS South

15 วาระที่ 4.1 พื้นที่ดำเนินการ โครงการ DHS South phase 2
จ.สงขลา – อ.สทิงพระ อ.จะนะ อ.รัตภูมิ อ.สะเดา จ.พัทลุง – อ.ปากพะยูน อ.ป่าพะยอม อ.เมืองพัทลุง จ.ตรัง – อ.รัษฎา อ.ย่านตาขาว จ.สตูล – อ.ควนโดน อ.ทุ่งหว้า จ.ปัตตานี – อ.สายบุรี อ.ทุ่งยางแดง อ.แม่ลาน จ.ยะลา – อ.บันนังสตา อ.เมืองยะลา จ.นราธิวาส – อ.สุไหงโกลก อ.ยี่งอ อ.สุคิริน

16 วาระที่ 4.1 กิจกรรม โครงการ DHS South phase 2 การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research – PAR) เป็นกระบวนการเข้าถึงความจริง เพื่อเปิดโอกาสสร้างการเปลี่ยนแปลง ใช้การเรียนรู้ร่วมกันระหว่างเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อดำเนินกิจกรรมแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้เป็นพลังสร้างการเปลี่ยนแปลง โดยมี พญ.บุษกร อนุชาติวรกุล คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เป็น Coach

17 ผลการลงพื้นที่ เทพา วันที่ 7-9 พฤษภาคม 2560 ณ โรงพยาบาลเทพา
ผลการลงพื้นที่ เทพา วันที่ 7-9 พฤษภาคม ณ โรงพยาบาลเทพา วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงการทำงานแบบมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมระหว่างครูศูนย์เด็กเล็กกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กในอ.เทพา ผลที่ได้รับ โรงพยาบาลเทพามีการขับเคลื่อนโครงการการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) ประเด็นอนามัยแม่และเด็ก โดยมีการระดมสมองสำรวจความต้องการในการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในสังกัดองค์กรปกครองท้องถิ่นในปีการศึกษา ด้าน คือ ด้านการเติบโตเต็มศักยภาพ สนุกและมีความสุข ด้านการเรียนรู้ปลอดภัยอยู่สุขสบาย ด้านสื่อ ด้านคุณภาพครู ด้านโภชนาการ ด้านการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ด้านการบริหาร

18 ผลการลงพื้นที่นาทวี วันที่ 27-29 มิถุนายน 2560 ณ ศูนย์เด็กเล็ก อบต
ผลการลงพื้นที่นาทวี วันที่ มิถุนายน ณ ศูนย์เด็กเล็ก อบต.ปลักหนู อ.นาทวี วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างโอกาสและเปิดพื้นที่เรียนรู้เพื่อส่งผลประโยชน์ต่อเด็กน้อยนาทวี ผลที่ได้รับ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อ.นาทวี ศูนย์เด็กเล็ก อบต.ปลักหนู ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล และผู้ปกครอง ทำข้อตกลงร่วมกันในการขับเคลื่อนโครงการการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) ประเด็นอนามัยแม่และเด็ก โดยเน้นการทำกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ในรูปแบบโรงเรียนพ่อแม่ และการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ให้สามารถจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ได้ในอนาคต

19 แผนการลงพื้นที่มดตะนอย วันที่ 25-27 กรกฎาคม 2560 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมดตะนอย
วัตถุประสงค์ เพื่อให้เครือข่ายระบบสุขภาพปฐมภูมิ จ.ตรัง เรียนรู้การทำงานร่วมกันเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของชุมชนบ้านมดตะนอยว่า เกิดขึ้นเพราะอะไร ชุมชนได้เรียนรู้อะไร จึงส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ผลที่เกิดขึ้นดีอย่างไร ผู้ได้รับผลประโยชน์คือใคร และร่วมกันกำหนดแผนการดำเนินงานงานในชุมชนต่อไป ผลที่คาดว่าจะได้รับ ชุมชนและเครือข่ายระบบสุขภาพปฐมภูมิ จ.ตรัง ร่วมกันกำหนดทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพ โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) ประเด็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) และสามารถพัฒนาชุมชนบ้านมดตะนอยให้เป็นแหล่งเรียนรู้ได้

20 การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
เปิดรับข้อเสนอโครงการ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participation Action Research - PAR) โครงการขับเคลื่อนเขตสุขภาพที่ 12 โดยเครือข่ายอ.สุขภาพ ที่มีศักยภาพการดูแลคุณภาพชีวิตประชาชนด้วยพหุภาคีสุขภาพ (DHS South phase 2) ตั้งแต่บัดนี้จนถึง 31 กรกฎาคม 2560 เวลา น. ประเด็นที่เปิดรับ 3 หมวด 1. ประเด็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของเขต 12 2. ประเด็นคุณภาพชีวิตที่ชุมชนสนใจและอยากพัฒนา 3. ประเด็นใหม่ที่สำคัญและน่าสนใจแต่ถูกมองข้าม การสนับสนุน 1. Coach และ Mentor 2. งบประมาณในการดำเนินการ 3. การเผยแพร่ผลงานและการนำเสนอในเวทีวิชาการ รายละเอียด: ติดต่อ: ปารีดา มรรคาเขต

21 DHB รอบแรก 8/73 +2 พื้นที่ อ.นาทวี จ.สงขลา อ.เทพา จ.สงขลา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา อ.ควนขนุน จ.พัทลุง* อ.กันตัง จ.ตรัง อ.ละงู จ.สตูล อ.เมืองปัตตานี จ.ปัตตานี อ.หนองจิก จ.ปัตตานี อ.รามัน จ.ยะลา อ.ตากใบ จ.นราธิวาส DHB รอบ 2 10/127 พื้นที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา อ.สทิงพระ จ.สงขลา อ.จะนะ? จ.สงขลา อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง อ.ห้วยยอด จ.ตรัง อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี อ.กะพ้อ? ยะรัง? จ.ปัตตานี อ.บันนังสตา จ.ยะลา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส

22 วาระที่ 4.2 การเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการ DHS South phase 2
สถาบันการศึกษา (Academic Institution: AI) มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ.ตรัง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ยะลา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ.ยะลา มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จ.นราธิวาส

23 Fam Med: นพ.ไกรสร รพ. ตรัง (พญ.พัชรี นพ.อาลี พญ.โอ)
วาระที่ 4.2 การเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการ DHS South phase 2 Fam Med: นพ.ไกรสร รพ. ตรัง (พญ.พัชรี นพ.อาลี พญ.โอ) AI: อ.บุญเรือง ม.ทักษิณ (อ.วรพล อ.วัลลภ อ.นวพร) สสอ.: อุษา สสอ.เมืองปัตตานี ภาคประชาชน: กัลยทัศน์ สตูล (กัลยา อ.ชโลม พี่ดุก) อปท.: สินธพ นายก อบต.ท่าข้าม (ปลัดกิจนันท์)

24 วาระที่ 4.2 การเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการ DHS South phase 2
แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว (Family Medicine Doctor)

25 ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ (16.15-16.30)


ดาวน์โหลด ppt การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google