ประเทศไทยกับอาเซียน: มิติทางการเมืองและความมั่นคง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ไทยกับการส่งเสริม CLC’s ในประเทศเพื่อนบ้าน
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA:
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชาคมอาเซียน.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
Ubonratchathani Provincial Public Health Office
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ความเข้าใจเรื่องกลไกสิทธิมนุษยชน เรื่อง
ประชาคมอาเซียน ( AEC ) สวัสดีอาเซียน.
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
การจัดการความรู้ Knowledge Management
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเทศไทยกับอาเซียน: มิติทางการเมืองและความมั่นคง ประเทศไทยกับอาเซียน: มิติทางการเมืองและความมั่นคง รองศาสตราจารย์ ดร. ปณิธาน วัฒนายากร ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความร่วมมือและความสัมพันธ์ ของประเทศสมาชิก

โครงสร้างอาเซียนใหม่ภายใต้กฎบัตรฯ 3

ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ลงนาม Bali Concord II ปี 2003 ระบุการจัดตั้งประชาคมอาเซียน โดยมีแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ (Vientiane Action Programe 2004-2010) 3 เสาหลัก - ประชาคมการเมือง-ความมั่นคง (ASEAN Political-Security Community: APSC) - ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community: AEC) - ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) เร่งรัดการจัดตั้งประชาคมให้เร็วขึ้นจากปี 2563 เป็น 2558 การใช้กฎบัตรอาเซียนตั้งแต่ 15 ธ.ค. 2551 4

โครงสร้างของอาเซียนภายใต้กฎบัตรอาเซียน ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน คณะมนตรีประสานงานอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คณะมนตรีประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน องค์กรเฉพาะสาขาอื่นๆ ภายใต้ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน: ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ที่ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านกฎหมาย ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านอาชญากรรมข้ามชาติ คณะกรรมการเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก 5

เป้าหมายหลักของ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง การอยู่ร่วมกันโดยสันติ แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี สร้างกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกันด้านประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน ความรับผิดชอบร่วมกันในการสร้าง ความมั่นคงที่ครอบคลุมรอบด้าน เช่น โรคระบาด ภัยพิบัติธรรมชาติ สร้างปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก

ภัยคุกคามด้านความมั่นคง ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ภัยคุกคามรูปแบบเดิม การก่อการร้าย โรคระบาด ความขัดแย้งระหว่างประเทศ - ปัญหาเขตแดน - สงคราม การลักลอบขนอาวุธ การเกิดภัยพิบัติ / ภัยธรรมชาติ การลักลอบค้ายาเสพติด การลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย อาชญากรรมทาง ศก.ระหว่างประเทศ การฟอกเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ การค้าสตรีและเด็ก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การกระทำอันเป็นโจรสลัด

กลไกในประชาคมการเมืองและความมั่นคง Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia (TAC) (สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) The Southeast Asia Nuclear-Weapon-Free Zone (SEANWFZ) (สนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) Declaration on the Conduct of Parties in South China Sea (DOC) (ปฏิญญาว่าด้วยแนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้) กลไกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights (AICHR) (คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน) ASEAN Maritime Forum (AMF) (การประชุมว่าด้วยประเด็นทางทะเลอาเซียน)

องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerial Bodies) ที่เกี่ยวข้องกับประชาคมการเมืองและความมั่นคง ASEAN Foreign Ministers Meeting (AMM) (ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน) Commission on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone (SEANWFZ Commission) (คณะกรรมการเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) ASEAN Defense Ministers Meeting (ADMM) (ที่ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน) ASEAN Law Ministers Meeting (ALAWMM) (ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านกฎหมาย) ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime (AMMTC) (ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านอาชญากรรมข้ามชาติ) ASEAN Regional Forum (ARF) (ที่ประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก)

การดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน การต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ อนุสัญญาอาเซียนว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้าย การแก้ไขข้อพิพาท ASEAN Institute for Peace and Reconciliation ความมั่นคงทางทะเล Maritime Forum (ไทยจัดการประชุม ASEAN Maritime Forum ครั้งที่ 2 17-19 ส.ค. 54 ที่เมืองพัทยา) การจัดการภัยพิบัติ ASEAN Humanitarian Assistance (AHA) Center, UN Humanitarian Response Depot (UNHRD) in Subang ความปลอดภัยด้านนิวเคลียร์ การประชุมของ nuclear regulatory agencies ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่กรุงเทพฯ (1-2 กันยายน 2554) และ Workshop on Nuclear Forensic กับสหรัฐฯ ในเดือนธันวาคม 2554 การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน จัดตั้งและสนับสนุนงานของ AICHR, การร่างปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน โดยไทยเป็นเจ้าภาพการประชุมระหว่าง 14-16 กันยายน 2554

หัวข้อความมั่นคงที่ได้รับความสนใจร่วมกันในกรอบ ASEAN และ ARF (27 สมาชิก) การค้ามนุษย์ การก่อการร้ายทางชีวภาพและความมั่นคงทางชีวภาพ การลักลอบขนอาวุธ ยาเสพติด อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ ความมั่นคงทาง คอมพิวเตอร์ โจรสลัด ประเด็นที่เกี่ยวกับอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง การก่อการร้าย การฟอกเงิน ASEAN ARF 11

ความร่วมมือในการรักษาความมั่นคง ในด้านการทหาร

โครงสร้างด้านการทหาร ในกรอบอาเซียน ASEAN Summit ASEAN Coordinating Council ASEAN Economic Community Council ASEAN Political-Security Community Council ASEAN Socio-Cultural Community Council ARF Security Policy Conference + Defence Officials Dialogue ASEAN Defense Ministers’ Meeting (ADMM) + + ADMM Plus

บทบาทของฝ่ายทหารในอาเซียน ส่งเสริม Trust and Confidence โดยผ่านกลไกต่างๆ เช่น ADMM และ ASEAN Defense SOM (ADSOM) ตาม ADMM 3 Year Work Programme สนับสนุนการดำเนินการของ ASEAN Political Security Community ภายใต้กฎบัตรอาเซียน สนับสนุนการดำเนินการของอาเซียนในกรอบ ARF โดยผ่านกลไก ARF Defense Officials Dialogue และ ARF Security Policy Conference

กลไกทหารภายใต้อาเซียน ADMM Concept papers: เครือข่ายระหว่างศูนย์ปฏิบัติการสันติภาพ และ ความร่วมมือระหว่างอุตสาหกรรมป้องกันประเทศอาเซียน แผนการดำเนินงาน 3 ปี ที่เน้นการเสริมสร้างความร่วมมือในภูมิภาคและกับคู่เจรจา รวมทั้งการจัดรูปแบบและแบ่งปันบรรทัดฐาน ขยายความร่วมมือกับประเทศคู่เจรจาของอาเซียน 8 ประเทศ (ADMM Plus) จะเพิ่มความถี่ของการประชุมจากทุก 3 ปี เป็นทุก 2 ปี Network of ASEAN Defense Institutions (NADI) ให้คำแนะนำแก่ ADMM โดยที่ประชุม NADI ครั้งที่ 4 เมื่อเดือนเมษายน 2554 ได้เสนอแนะให้มีความร่วมมือในอนาคตในบริบทใหม่ของความมั่นคง และความท้าทายเรื่องทะเลจีนใต้

กลไกฝ่ายทหารภายใต้ ARF ARF Security Policy Conference การประชุมระดับรัฐมนตรี จัดขึ้นปีละครั้ง ARF Defence Officials’ Dialogue เป็นการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส จัดขึ้นปีละ 4 ครั้ง ก่อนการประชุม แต่มีข้อเสนอให้ลดลงเหลือปีละ 3 ครั้ง ARF Heads of Defense Universities, Colleges and Institutions Meeting (ARF HDUCIM) เป็นเวทีของภาควิชาการทางทหาร

เวทีการปฏิสัมพันธ์ของทหาร ในกรอบอาเซียน ASEAN Chiefs of Defence Forces Informal Meeting (ACDFIM) ASEAN Chiefs of Army Multilateral Meeting (ACAMM) ASEAN Navy Interaction (ANI) ASEAN Air Force Chiefs Conference (AACC) ASEAN Military Intelligence Informal Meeting (AMIIM) ASEAN Military Operations Informal Meeting (AMOIM) ASEAN Armies Rifle Meet

โครงสร้างในภูมิภาค ที่มีอาเซียนเป็นแกนกลาง ISM on DR, CTTC, MS, PKO, NPD EWG on DR, CT, MS, PKO, Military Medicine ARF/ APEC EAS/ ADMM-Plus ASEAN+3 ASEAN

การประสานความร่วมมือระหว่างเวทีต่างๆ มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ การลาดตระเวนร่วมกัน การสังเกตการณ์การซ้อมรบ การจัดทำ ARF Annual Security Outlook และ ASEAN Security Outlook การแบ่งปันข้อมูลในเกี่ยวกับทะเบียนอาวุธตามแบบ (arm register) ของ UN การจัดตั้งสายด่วนสำหรับการสื่อสาร การแลกเปลี่ยนการฝึกอบรม การสร้าง synergy ระหว่าง ADMM Plus, ARF และ EAS ในเรื่องที่มีความสนใจร่วมกัน เช่น ความมั่นคงทางทะเล การบรรเทาภัยพิบัติ

ความเชื่อมโยงระหว่าง กระทรวงการต่างประเทศกับกระทรวงกลาโหมในอาเซียน ASEAN Regional Forum (ARF) ASEAN Defense Ministers’ Meeting (ADMM) Plus สมาชิก 26 ประเทศ + 1 กลุ่มประเทศ ให้ความสำคัญกับความร่วมมือ การสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการทูตเชิงป้องกัน (ISG CBM and PD) การบริหารจัดการภัยพิบัติ (ISM DR) การต่อต้านการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ (ISM CTTC) ความมั่นคงทางทะเล (ISM MS) การไม่แพร่ขยายและลดอาวุธนิวเคลียร์ (ISM NPD) สมาชิก 18 ประเทศ ให้ความสำคัญกับความร่วมมือ การบริหารจัดการภัยพิบัติ (HADR การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (PKO) การต่อต้านการก่อการร้าย (CT) ความมั่นคงทางทะเล (MS) การแพทย์ทหาร (Military Medicine)

ความเชื่อมโยงระหว่าง กระทรวงการต่างประเทศกับกระทรวงกลาโหมในอาเซียน ARF และ ADMM Plus สามารถดำเนินการในลักษณะที่ส่งเสริมต่อกันได้ โดยมีประเด็นหลักที่ต้องพิจารณาร่วมกัน หลีกเลี่ยงการทับซ้อนของประเด็นที่พิจารณาและขอบข่ายของงาน โดย ARF พิจารณาในกรอบนโยบายความมั่นคงในภาพกว้าง ADMM Plus รับผิดชอบในเรื่องที่มีความเฉพาะด้านในทางทหาร ส่งเสริมให้มีความโปร่งใสมากขึ้นระหว่างฝ่ายกลาโหมอาเซียน โดยการแลกเปลี่ยนข้อมูลเรื่อง arms modernization และการส่งผู้สังเกตการณ์ในการซ้อมรบ

แนวทางของไทยต่ออาเซียน

บทบาทของไทยในด้านการเมืองและความมั่นคง เร่งให้กฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้ในช่วงที่ไทยเป็นประธานอาเซียน (ธันวาคม 2551) รับรองและผลักดันการปฏิบัติตามแผนการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ส่งเสริมให้คณะมนตรีของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีผลงานเป็นรูปธรรม เช่น การส่งเสริมความร่วมมือด้านการรักษาสันติภาพในภูมิภาค ส่งเสริมมาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (CBMs) และการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ในกรอบ ARF 23

บทบาทของไทยในด้านการเมืองและความมั่นคง ผลักดันให้สหรัฐฯ เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) ผลักดันให้เขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEANWFZ) มีบทบาทมากยิ่งขึ้นในเวทีระหว่างประเทศ และสร้างเสถียรภาพในอาเซียน ส่งเสริมให้อาเซียนเป็นเขตปลอดอาวุธที่มีอำนาจทำลายล้างสูง 24

บทบาทของไทย ในด้านการเมืองและความมั่นคง ยกระดับบทบาทของรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนในด้านการจัดการภัยพิบัติ และความร่วมมือกับภาคประชาสังคมในการแก้ไข Non-Traditional Security Threats ส่งเสริมให้มีความโปร่งใสด้านนโยบายและข้อมูลทางทหารในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดตั้งและผลักดันการดำเนินการของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (AICHR) ส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมในกระบวนการอาเซียน

ผลกระทบจากการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ด้านการเมืองและความมั่นคง การควบคุมตรวจสอบการดำเนินงานของภาครัฐที่เข้มข้นยิ่งขึ้น ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ การลักลอบค้ามนุษย์ การค้าอาวุธยาเสพติดและสารตั้งต้น การลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมาย ช่องว่างในการพัฒนาอาจนำมาซึ่งความขัดแย้งทางสังคม การส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน การส่งเสริมสันติภาพและความปรองดอง

การดำเนินการของหน่วยงานไทยด้านการเมืองและความมั่นคง นโยบายรัฐบาล คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ของไทย คณะกรรมการดำเนินการเพื่อจัดตั้งประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน ยุทธศาสตร์ของไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดตั้ง APSC ภายในปี 2558 (สมช.) แผนปฏิบัติการฯ แผนปฏิบัติการฯ (ทุกกระทรวงฯ) การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร การเตรียมทรัพยากรเพื่อรองรับการเป็นประชาคม การสร้างความตระหนักรู้แก่เจ้าหน้าที่ และประชาชน

การเตรียมความพร้อมของภาคราชการสู่ ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 การจัดตั้งคณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ โดยมติของคณะรัฐมนตรี การผนวกวิสัยทัศน์และแผนปฏิบัติการของอาเซียนเข้าสู่นโยบายของรัฐบาลและส่วนราชการ เพื่อผลักดันให้ไทยสามารถบรรลุวิสัยทัศน์หรือเป้าประสงค์ที่ผู้นำอาเซียนมีร่วมกัน การจัดตั้งสำนักงานหรือส่วนความร่วมมืออาเซียนในส่วนราชการ เป็นจุดประสาน เป็นเครือข่ายในการขับเคลื่อนการเป็นประชาคมอาเซียนในส่วนราชการของไทย การสร้างองค์ความรู้ของหน่วยราชการ รับทราบข้อมูลอาเซียนที่ทันต่อเหตุการณ์ บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน และช่วยเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

การเตรียมความพร้อมของไทยในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 การเตรียมความพร้อมของไทยในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 การเตรียมความพร้อมในด้านนิติบัญญัติ การเตรียมความพร้อมด้านการศึกษา ภาษาอังกฤษ ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน หลักสูตรอาเซียนศึกษา ความรู้เกี่ยวกับกฎ ระเบียบต่าง ๆ ของอาเซียน พัฒนาทักษะของแรงงานมีฝีมือให้มีมาตรฐาน สร้างเครือข่ายระหว่างสถาบันการศึกษาของอาเซียน