การออกแบบอีเลิร์นนิง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Do Research Prabhas Chongstitvatana Chulalongkorn University 13 September 2013
Advertisements

ผัก. หน่อไม้ ฝรั่ง กะหล่ำ ปลี แค รอท กะหล่ำ ดอก.
Chapter 3 Simple Supervised learning
ครูปัทมา แฝงสวัสดิ์. การอ่านเรื่องงานแล้ว บอกรายละเอียดและ สาระสำคัญ.
Mathematical Model of Physical Systems. Mechanical, electrical, thermal, hydraulic, economic, biological, etc, systems, may be characterized by differential.
Oct 6, 2009 Planning for e-Learning Teaching ฐาปนีย์ ธรรมเมธา กอบกุล สรรพกิจจำนง.
Modeling and Activity Diagram
 How do we improve the test?  Why do we have to improve the test?
Virtual Learning Environment
English for everyday use
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ครูรุจิรา ทับศรีนวล “Edinburgh” ตอนที่ 1 ครูรุจิรา ทับศรีนวล.
Database & DBMS Architecture วรวิทย์ พูลสวัสดิ์. 2 2 ฐานข้อมูล (Database) - Data and its relation - Databases are designed to offer an organized mechanism.
PowerPoint Template.
Tawatchai Iempairote วันที่ 3 กรกฎาคม 2556
PHP FRAMEWORK – Web Programming and Web Database Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
1 1 Olympic 1 The ancient Olympic Games began in Greece in 776 B.C.E and were held every four years until 393 C.E. It wasn’t until about 1,500 years.
อาจารย์ วิทูร ธรรมธัชอารี. เนื้อหาในการเรียน  เครื่องมือในการออกแบบและพัฒนาระบบ บัญชีด้วยคอมพิวเตอร์  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล  การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
Multimedia Systems รศ. ดร. บุญวัฒน์ อัตชู
COMPANY PROFILE EXPERTISE ‘S PROMISE LOYALTY TO BUILD CO.,LTD 130/153 M.6 T.BANSUAN A.MUANG CHONBURI Tel : Fax :
การออกแบบส่วนต่อประสาน
Practice File. Our Executive Coaching Program is proven effective. Our customer survey show ROI of coaching can be as high as 3 times the investment value.
กรมสรรพากร กระทรวงการ คลัง. การบริหารงานสรรพากร จัดเก็บภาษีให้ทั่วถึงเป็นธรรม มี ความโปร่งใส ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั้งส่วนของ ทางการ และเอกชน มุ่งพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการ.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
Concept and Terminology Guided media (wired) Twisted pair Coaxial cable Optical fiber Unguided media (wireless) Air Seawater Vacuum Direct link Point.
D 2 E 1 S E M N G ม. I G I T Grammar A L 4.0.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ชุดฝึกเขียนสรุป (Writing Summary)
การฝึกอบรมคืออะไร.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
Information Systems Development
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
WWW (World Wide Web) พัฒนาขึ้นมาในช่วงปลายปี 1989 โดยทิม เบอร์เนอร์ ลี นัก วิศวกรรมซอฟต์แวร์ จาก ห้องปฏิบัติการทางจุลภาคฟิสิกส์แห่ง ยุโรป (European Particle.
Human resources management
คิดไว สรุปไว ด้วย MIND MAP ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนาหลักสูตร
การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning
1. นี่เป็นสิ่งที่พระเยซูทรงทำ พระองค์ทรงรักษาทุกคน ที่เจ็บป่วยให้หายดี
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
ชัยเมศร์ อมรพลสมบูรณ์
Information System Development
หน่วยที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
การประเมิน ความผิดปกติทางภาษาและการพูดในเด็กออทิสติค
Generic View of Process
Educational Information Technology
วันนี้เรียนอะไร การออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร ประเภทของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หลักการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
Object-Oriented Programs Design and Construction
มองรัฐและอุตสาหกรรมไทยผ่านกรอบ Ha-Joon Chang
Multimedia Production
Software Engineering ( )
การออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้
Review of the Literature)
Development Strategies
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
1 ยอห์น 1:5-7 5 นี่เป็นเรื่องราวซึ่งเราได้ยินจากพระองค์และประกาศแก่ท่าน คือพระเจ้าทรงเป็นความสว่าง ในพระองค์ไม่มีความมืดเลย 6 ถ้าเราอ้างว่ามีสามัคคีธรรมกับพระองค์แต่ยังดำเนินในความมืด.
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
“สติปัญญาในการเลือกคู่ครอง” “Wisdom in Choosing a Spouse”
บทที่ 12 การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
Inventory Control Models
Evaluation and Development of Information System for Risk groups for Diabetes in Health Region 4 การประเมินและพัฒนาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในพื้นที่เขตสุขภาพที่
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการบูรณาการภาครัฐและเอกชนในการจัดยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาคตะวันออก This template can be used as a starter file to give updates for.
สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
กลยุทธ์การทดสอบซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning
สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
Introduction to Structured System Analysis and Design
Color Standards A pixel color is represented as a point in 3-D space. Axis may be labeled as independent colors such as R, G, B or may use other independent.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบอีเลิร์นนิง Prajaks Jitngernmadan Faculty of Informatics Burapha University Bangsaen, Chonburi Prajaks Jitngernmadan

Principle of e-Learning สารบัญ Consider multiple perspectives ระบบการเรียนการสอน การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง การใช้ story board การประกันคุณภาพสื่ออีเลิร์นนิง ข้อควรคำนึงถึงในการทำสื่ออีเลิร์นนิง Principle of e-Learning

Consider multiple perspectives Principle of e-Learning

Consider multiple perspectives Instructional design contributes theories about how human beings learn, strategies for applying these theories, and methodologies to carry out the strategies. The knowledge of how human beings learn can guide selection and specification of new kinds of learning experiences such as simulations, learning games, online meetings, and discussion forums. Principle of e-Learning

Consider multiple perspectives Software engineering helps us build reliable computer programs. Like it or not, e-learning is software. It runs on a computer, just as a spreadsheet or word processor does. It has a user-interface and may draw content from a distant database. It transmits media over networks. It thus requires the same careful design and quality control as other forms of software. Software engineering contributes the concepts of object design, usability design, and rapid prototyping. Principle of e-Learning

Consider multiple perspectives Media design helps us use digital media well. When the only media were the words on a chalkboard and the instructor’s voice, we did not need to “design” media. Today we must select the appropriate mixture of text, graphics, voice, music, sound effects, animation, and video. We must then sequence these various media and synchronize complementary media. Principle of e-Learning

Consider multiple perspectives Economics helps e-learning deliver value. E-learning costs money. It may generate revenue. It takes time, people, and other resources to create, offer, and maintain. It must be developed under a budget and on schedule. Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ระบบการเรียนการสอน โมเดลระบบการเรียนการสอนของ IDI Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ระบบการเรียนการสอน หลักการพื้นฐานในการออกแบบโดยทั่วๆ ไป (Generic ISD Model) มักจะมี 5 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห (Analysis) การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การนําไปใช (Implementation) การประเมินผล (Evaluation) ADDIE Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ระบบการเรียนการสอน ขั้นการวิเคราะห (Anglysis) วิเคราะหความจําเปน วิเคราะหงาน วิเคราะหการเรียนการสอน วิเคราะหผูเรียน วิเคราะหวัตถุประสงค Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ระบบการเรียนการสอน ขั้นการออกแบบ (Design) เป็นกระบวนการกําหนดวา จะดําเนินการเรียนการสอนอย างไร ระบุวัตถุประสงค ระบุวิธีสอน ระบุสื่อการสอน ระบุวิธีการประเมินผล Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ระบบการเรียนการสอน ขั้นการพัฒนา (Development) เปนกระบวนการดําเนินการพัฒนา หรือ สรางแผนการเรียนการสอน พัฒนาแผนการเรียนการสอน พัฒนาสื่อการเรียนการสอน ประเมินผลขณะดําเนินการพัฒนา Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ระบบการเรียนการสอน ขั้นการนําไปใช (Implementation) เป็นขั้นตอนของการดําเนินการเรียนการสอน ตามที่ไดทําการออกแบบและพัฒนาดําเนินการสอน Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ระบบการเรียนการสอน ขั้นการประเมินผล (Evaluation) เปนขั้นตอนสุดทายของกระบวนการออกแบบระบบการเรียนการสอน เพื่อประเมินผลขั้นตอนตางๆ วาเปนไปตามที่ไดวางแผนหรือไม และทําการปรับปรุง /แกไขใหไดระบบการสอนที่มีประสิทธิภาพ Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ระบบการเรียนการสอน Principle of e-Learning

การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง Successive Approximation Model Principle of e-Learning

การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง Successive Approximation Model ขั้นตอนการเตรียมการ (Preparation phase) ขั้นตอนนี้เทียบไดกับ ขั้นตอน Analysis ของโมเดลการออกแบบระบบการเรียนการสอน ADDIE โดยในโมเดล Successive Approximation Model เปนการเตรียมขอมูลพื้นฐานเพื่อการออกแบบ การค้นคว้าหาความรู้ที่ถูกต้อง การใช้ความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย การใช้ตัวอย่างในชีวิตประจำวัน Principle of e-Learning

การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง Successive Approximation Model วงจรการออกแบบ (Iterative design phase) ขั้นตอนนี้เทียบไดกับ ขั้นตอน Design ของโมเดลการออกแบบระบบการเรียนการสอน ADDIE วงจรนี้มี 3 ขั้นตอน โดยหลักจะออกแบบใหเกิดตนแบบคราวๆ อยางรวดเร็ว เพื่อการศึกษา ทดสอบความเหมาะสม ความตรงตามวัตถุประสงคการเรียนการสอน ทีมงานที่เกี่ยวของทุกสวนจะมีสวนรวมในการศึกษาและทดสอบ ทบทวน ทําการวนซ้ำการออกแบบ จนกวาจะไดตนแบบที่พอใจ หลังจากไดตนแบบแลว จะมีการวางแผนการดําเนินการของโครงการโดยละเอียด และเขาสูขั้นตอนตอไป Principle of e-Learning

การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง Successive Approximation Model วงจรการพัฒนา (Iterative development phase) ขั้นตอนนี้เทียบไดกับ ขั้นตอน Development, Implementation, Evaluation ของโมเดลการออกแบบระบบการเรียนการสอน ADDIE วงจรการพัฒนามี 3 ขั้นตอน ใชหลักการคือ พัฒนาทีละสวน ทุกสวนที่พัฒนาเสร็จจะมีการตรวจสอบ ทดลองใช และปรับปรุง จนกวาจะไดระบบที่น่าพอใจ Principle of e-Learning

Principle of e-Learning การใช้ story board Principle of e-Learning

Principle of e-Learning การใช้ story board การเขียนสตอรี่บอร์ด คือ การเล่าเรื่องเป็นฉาก ๆ เป็นขั้นตอนของการเตรียมการนำเสนอข้อความ ภาพ รวมทั้งสื่อในรูปของมัลติมีเดียต่างๆ ลงในกระดาษ เพื่อให้การนำเสนอข้อความ และสื่อในรูปแบบต่างๆ เหล่านี้เป็นไปอย่างเหมาะสมบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ต่อไป สตอรี่บอร์ดนำเสนอเนื้อหา และลักษณะของการนำเสนอ ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ดรวมไปถึงการเขียนสคริปต์ (ซึ่งสคริปต์ในที่นี้ คือ เนื้อหา) ที่ผู้ใช้จะได้เห็นบนหน้าจอ ซึ่งได้แก่ เนื้อหา ข้อมูล คำถาม ผลป้อนกลับ คำแนะนำ คำชี้แจง ข้อความเรียกความสนใจ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ Principle of e-Learning

Principle of e-Learning การใช้ story board ใช้ในการออกแบบสื่อการเรียนที่เป็นลักษณะต่อเนื่อง ช่วยในการกำกับความยากง่ายของเนื้อหา ช่วยในการเรียงลำดับเนื้อหา สามารถใช้เพื่อเตือนความจำในการลำดับเรื่องราวได้ ช่วยให้มองเห็นภาพได้ง่ายขึ้น สามารถใช้สื่อสารกันได้ง่ายขึ้น โดยฌฉพาะสำหรับการทำงานเป็นกลุ่ม เป็นการรวบรวมแนวความคิด และเป็นเครื่องมือในการสร้างแนวความคิดใหม่ ๆ ได้ Principle of e-Learning

การประกันคุณภาพของสื่ออีเลิร์นนิง ตามหลักของ Michael W. Allen ได้เสนอไว้ดังนี้ Appropriateness บทเรียนตอบสนองวัตถุประสงคการเรียน สอดคลองกับลักษณะผูเรียนเปาหมาย (ภาษาที่ใชเหมาะสม สื่อถูกออกแบบตามระดับและลักษณะผูเรียนเปาหมาย และเปาหมายขององคกร) เสร็จตามกำหนดการ Correctness เนื้อหาบทเรียนถูกตองทั้งสาระ ภาษา ไวยากรณและความหมาย Functionality การออกแบบการทํางานของบทเรียนทั้ง จุดเชื่อมโยง (links) ระบบนําทาง (navigation) ภาพเคลื่อนไหว (animations) การจัดเก็บขอมูลและการแสดงผล การทํางานของบทเรียนและระบบจัดการเรียนรู้ถูกต้อง Usability การออกแบบใหผูเรียนใชงานไดอยางสะดวก เปนไปตามหลักการและจิตวิทยาปฏิสัมพันธระหวาง บุคคลและคอมพิวเตอร (human-computer interaction) และจิตวิทยาการใชงานคอมพิวเตอร ผูใชไมสับสนขณะใช้งาน Design consistency ออกแบบใหมีความสม่ำเสมอในทุกสวน Psychological impact เปนไปตามจิตวิทยาการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนใชงานไดอยางดี Principle of e-Learning

ข้อควรคำนึงถึงในการทำสื่ออีเลิร์นนิง อีเลิรนนิงเปนระบบการเรียนการสอนที่ใชเทคโนโลยีเปนสภาพแวดลอมในการเรียนการสอน ดังนั้นในขั้นตอนการวิเคราะห จะตองใหความสําคัญกับการวิเคราะหความพรอมของสภาพแวดลอม (ระบบเครือขาย เครื่องคอมพิวเตอรของผูสอนและผูเรียน ระบบสนับสนุนการเรียนการสอน) เพื่อตัดสินใจที่จะใชอีเลิรนนิงในระดับใด สื่อการเรียนในอีเลิรนนิง เปนหลักในการถายทอดความรู สรางและกระตุน การเรียนรู ดังนั้นในขั้นตอนการออกแบบ ควรจะใหความสําคัญตอการออกแบบสื่อการเรียนที่มีการคํานึงถึงปจจัยตางๆ ที่จะมีผลตอการเรียนรูจากสื่อ Principle of e-Learning

ข้อควรคำนึงถึงในการทำสื่ออีเลิร์นนิง อีเลิรนนิงเปนระบบการเรียนการสอนที่รองรับปฏิสัมพันธทางการเรียนสูง (Highly Interaction) ดังนั้น ในขั้นตอนการออกแบบ สามารถขยายและใหความสําคัญตอการออกแบบปฏิสัมพันธทั้ง ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับสภาพแวดลอม (การใชระบบจัดการเรียนรู และเครื่องมือในการเรียนรู) ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับสื่อการเรียน ปฏิสัมพันธ ระหวางผูเรียนกับผูเรียน (/ผูสอน) โดยการออกแบบกิจกรรมการเรียนที่หลากหลาย Principle of e-Learning

ข้อควรคำนึงถึงในการทำสื่ออีเลิร์นนิง อีเลิรนนิงมีการเก็บขอมูลพฤติกรรมการเรียนของผูเรียน คําถาม คําตอบ การสื่อสารและโตตอบ ของทั้งผูเรียนและผูสอนไวในระบบ สามารถยอนกลับไปเรียกดูไดตลอดเวลา ในขั้นตอนการออกแบบ สามารถนําไปใชประโยชนทั้งในขั้นตอนการเรียน (ออกแบบกิจกรรมการเรียนที่กระตุนใหผูเรียนสามารถคิดไตรตรอง ทบทวนการเรียนรูของตนเองจากบันทึกการเรียนรูที่ผูเรียนไดกระทําไว) หรือในขั้นตอนการประเมินผล ควรจะใหความสําคัญตอการประเมินผลโดยการใชพฤติกรรมการเรียนรวมกับการประเมินผลการเรียนจากแบบทดสอบหลังเรียน Principle of e-Learning

Principle of e-Learning Questions??? Principle of e-Learning