งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมิน ความผิดปกติทางภาษาและการพูดในเด็กออทิสติค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมิน ความผิดปกติทางภาษาและการพูดในเด็กออทิสติค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมิน ความผิดปกติทางภาษาและการพูดในเด็กออทิสติค
พรพิริยา อภิพรจีรภัทร์ ศศม. ความผิดปกติของการสื่อความหมาย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นักแก้ไขการพูด สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์

2 ภาษาและการพูด การพูด คือ การเคลื่อนไหวอวัยวะต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับกลไกการพูดโดยการแปรเสียงออกมาเป็น สระ พยัญชนะ คำ วลี ประโยคเพื่อใช้ในการสื่อความหมาย ภาษา คือ ความรู้ความเข้าใจในระบบสัญลักษณ์ที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล

3 4 องค์ประกอบของภาษา ระบบเสียง Phonology
ไวยากรณ์ ลำดับคำในประโยค Gramma ความหมาย Semantics การนำไปใช้ Pragmatics

4 ระบบเสียง ความสามารถในการแยกแยะและทำเสียง สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ในภาษานั้น ๆ สามารถแยกได้เป็นหน่วยเสียงต่างๆ ในระบบภาษาไทย เสียงสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ ( ไทย จีน ) ระดับเสียงแสดงอารมณ์ ในภาษาอังกฤษ เด็กสามารถแยกฟังเสียงได้ก่อนทำเสียงนั้น ๆ เช่น เด็กแยกฟังเสียง ปา มา ตอนอายุ 4-6 เดือน และทำเสียง ปา มา ได้ตอน อายุ 6-9 เดือน

5 ไวยากรณ์ ให้เป็นรูปประโยค ในภาษานั้น ๆ คำนาม กริยา วิเศษณ์
กฎเกณฑ์ในการเรียงหน่วยคำต่าง ๆ ให้เป็นรูปประโยค ในภาษานั้น ๆ คำนาม กริยา วิเศษณ์ คำเชื่อม คำขยาย คำเปรียบเทียบ

6 องค์ประกอบไวยากรณ์ การเรียงลำดับของคำ ความหมายที่เกิดขึ้น
ประกอบด้วยหน่วยคำและ หน่วยเสียงต่าง ๆ การเรียงลำดับของคำ ความหมายที่เกิดขึ้น แม่นม แม่....นม

7 Semantics ความหมายของคำ คำและคลังศัพท์หมวดต่าง ๆ

8 คลังศัพท์ ( Lexicon ) คือกระบวนการจัดการรวบรวมคำศัพท์ต่าง ให้เป็นหมวดหมู่ในสมอง คล้ายมีระบบพจนานุกรมในใจ สามารถเรียงและบันทึกไว้อย่างเป็นระบบ ระเบียบเพื่อนึกหาคำมาใช้ได้ภายหลัง ระบบนี้สำคัญอย่างไร - เด็กสามารถสามารถเรียนคำใหม่ ๆ ได้ในอัตราสูงสุด 10 คำต่อ วัน ตอนเด็กอายุ 24 เดือน รู้คำศัพท์ประมาณ 50 คำ

9 อัตราการเพิ่มพูนคำศัพท์ของเด็ก
อัตราการเรียนรู้คำศัพท์เป็นไปอย่างรวดเร็ว ในช่วง 2-4 ขวบ ถ้าเด็กได้รับการส่งเสริมอย่างเหมาะสมจำนวนคำศัพท์ที่เด็กมีจะเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย

10 Pragmatics การใช้ประโยคหลายรูปแบบ บอกเล่า ปฏิเสธ คำถาม ร้องขอ ขอบคุณ ขอโทษ ได้อย่างเหมาะสม การเรียงคำในประโยค การเรียงประโยคในการเล่าเรื่อง การใช้น้ำเสียงแสดงอารมณ์

11 องค์ประกอบย่อยของการใช้ภาษาในสังคม Pragmatic
กฏเกณฑ์ในการสนทนา (ผลัดกันพูด, ไม่พูดนอกประเด็น, สนใจคู่สนทนา) ความสุภาพ เล่าเรื่องและขยายความ คงเนื้อหาในการสนทนา You have invited your old college roommate for dinner. She has never met your family. Your child sees your friend reach for some potatoes and says, "Better not take those, or you'll get even bigger." Your embarrassment makes it difficult for you to believe that your child did not intend to be rude. Rather, your child may have a problem knowing how to use language appropriately in social situations

12 Pragmatic disorders พูดประโยคไม่ซับซ้อน ขาดอรรถรสในการฟัง
พูดนอกประเด็น เล่าเรื่องข้ามตอน เรียงลำดับเรื่องที่เล่าสับสน ใช้ประโยคบอกความต้องการ ตั้งคำถาม ทักทายคนนอกวงสนทนาบ่อยเกินจำเป็น เล่าเรื่องราวในอดีตไม่ค่อยได้ เช่น ถามว่า เมื่อเช้าทำอะไรบ้าง

13 Pragmatic disorders พูดนอกเรื่องนอกประเด็นบ่ยอครั้ง
มีวลีเดิมเกริ่นนำเวลาจะพูดนอกเรื่อง เช่น เราว่า เรานึกออกแล้วละ เพื่อน ๆ ไม่อยากคุยด้วย ไม่เป็นที่ยอมรับของสังคมเพื่อนฝูง Pragmatic disorders frequently coexist with other language problems such as vocabulary/concept development or grammar.

14 Language Developmental Trajectory
Telegraphic speech ใช้คำที่เป็นความหลัก Word combinations เชื่อม 2 คำต่อกัน Word production พูดได้ระดับคำ Word comprehension เข้าใจคำ ทำตามคำบอก Canonical Babbling พยางค์ มา ปา ตา ยา

15 Normal Speech Development
1 to 6 months Coos in response to voice 6 to 9 months Babbling 10 to 11 months Imitation of sounds; says "mama/dada" without meaning 12 months Says "mama/dada" with meaning; often imitates two- and three-syllable words 2 to ½ years Vocabulary of 400 words, including names; two- to three-word phrases; use of pronouns; diminishing echolalia; 75% of speech understood by strangers

16 การประเมินความผิดปกติของภาษาและการพูด

17 ซักประวัติ เช่นเดียวกับประวัติพัฒนาการ
ให้ความสนใจในลำดับขั้นตอนพัฒนาการด้านภาษา ระบุว่าเป็นปัญหา ด้านภาษา การพูด หรือทั้ง 2 ด้าน

18 วิธีประเมิน ประเมินด้วยแบบทดสอบ - มาตรฐาน คัดกรอง
ประเมินด้วยแบบทดสอบ - มาตรฐาน คัดกรอง ( Subjective Analysis ) ได้ข้อมูลว่าผู้ป่วยมีปัญหาในพัฒนาการด้านภาษาและการพูดเป็นแบบใด ประเมินด้วยเครื่องวิเคราะห์คุณลักษณะของคลื่น เสียง ( Objective Analysis ) ได้ข้อมูลที่เป็นค่าตัวเลขเกี่ยวกับ ความดัง ความถี่มูลฐาน ระยะเวลาในการเกิดคำหรือถ้อยความยาว

19 แบบทดสอบมาตรฐาน แบบทดสอบการฟังเข้าใจภาษา( ลินดา ปั้นทอง วรรณภา หารชุมพล ,2530 แบบทดสอบการเข้าใจและการใช้คำศัพท์ พื้นฐาน (บุญเกื้อ ตุ้มนิลกาล, 2539 ) แบบทดสอบความสามารถในการพูดคำกริยา ( วราภรณ์ วิไลนาม, 2539)

20 แบบทดสอบมาตรฐาน ( ต่อ)
แบบทดสอบการใช้ประโยคโดยใช้ภาพเรียงลำดับเหตุการณ์ (นิตยา เกษมโกสินทร์2539 แบบประเมิน ระดับภาษาและแนวทางแก้ไข ( สมาคมโสตสัมผัสวิทยาและการแก้ไขการพูดแห่งประเทศไทย, 2543

21 ลักษณะภาษาและการพูดของเด็กออทิสติค(ต่อ)
มีการทำให้วลีสั้นลงโดยตัดคำบางคำออก ร่วมกับภาษากาย แทนความหมายทั้งประโยค เช่น ใช้วลี “ ห้องกะทะ “ มาแทน ประโยค “ ในห้องครัวมี หม้อและกระทะ “ พูดแบบเดิมๆและเรื่องเดิมซ้ำ ๆ เช่น อยากเล่น..เล่นพัดลม วาดพัดลม , อยากได้ดินสอมาวาดพัดลม การตอบคำถามของเด็กออทิสติคมักจะเป็นแบบนามธรรม มีความจำกัดเฉพาะแต่สิ่งที่มีและเป็นอยู่ในสิ่งแวดล้อมขณะนั้น

22 ความผิดปกติขององค์ประกอบของภาษา
ระบบเสียง Phonology ไวยากรณ์ ลำดับคำในประโยค Gramma ความหมาย Semantics การนำไปใช้ Pragmatics

23 Questions?

24 ตัวอย่าง Case ที่ 1 1. เด็กหญิงไทย อายุแรกรับ 2 : 8 ปี
1. เด็กหญิงไทย อายุแรกรับ 2 : 8 ปี ประเมินพัฒนาการด้านภาษาและการพูด - ระดับภาษาระดับทิ่ 2 พูดเลียนแบบระดับคำแต่ ไม่เข้าใจความหมาย ( ได้ ยากันชัก ร่วมกับ พัฒนาการบำบัดจากสหวิชาชีพ ) -อายุ 3 : 6 ปี ประเมินซ้ำก่อนให้การรักษาด้วย HEG ระดับภาษาระดับที่ 4 พูด 2 คำต่อกัน ที่เป็นคำกริยาในชีวิตประจำวัน พูดตามมากกว่า 75% พูดไม่ชัด ใช้ m / p p / t l / j รู้คำศัพท์ คำ

25 ตัวอย่าง case ที่ 1 ( ต่อ )
ประเมินซ้ำทุก 6 เดือน - ระดับภาษาคงเดิม แต่จำนวนคำศัพท์ที่รู้จักและพูดได้เอง เพิ่มเป็น คำ ขึ้นกับอารมณ์และความสนใจ ความสนใจและความจำจากการมองดีกว่าการฟัง จำตัวอักษรและอ่านคำง่าย ๆ ได้เอง ปัจจุบัน อายุ 5 : 8 ปี ประเมินด้วยแบบทดสอบความสามารถในการพูดคำกริยาของเด็กไทย ( 3 ปี ถึง 3 ปี 11 เดือน โดย ( วราภรณ์ วิไลงาม ) บอกกริยาจากภาพได้ คำ ไม่บอกหน้าที่สิ่งของ บอกความต้องการต้องกระตุ้น ยังไม่ถามคำถาม ค่าเฉลี่ยความยาวของคำพูด – 2 หน่วยคำ

26 ตัวอย่าง case ที่ 1 ( ต่อ )
ประเมินการพูดด้วยเครื่องวิเคราะห์เสียง - พูดไม่ชัด ใช้เสียงสระออแทนสระโอ สระเดี่ยวแทนสระผสม ละพยัญชนะท้ายพยางค์ /-ƞ/ /-d/ มีความผิดปกติในคุณภาพเสียง ความดัง จังหวะการพูด ระยะเวลาในการเกิดคำ ระดับเสียงผิดปกติ

27 กราฟแสดงความก้าวหน้าพัฒนาการทางภาษาและการพูด

28 เทียบพัฒนาการทางภาษาและการพูดกับการศึกษาในต่างประเทศ
IQ ≤ 70 พูดคำแรกอายุเฉลี่ย 4 ปี 7 เดือน และพูดระดับวลีที่อายุเฉลี่ย 6 ปี 5 เดือน( Rutter, 1968) IQ ≥70 จะพูดคำแรกที่อายุประมาณ 2 ปี 6 เดือน และพูดระดับวลีที่อายุประมาณ 4 ปี 8 เดือน (Lahey,1988) คำพูดคำแรกของเด็กออทิสติคมักจะเป็นการพูดเลียนแบบคำหรือวลีของผู้อื่นโดยไม่มีความหมาย( Wing,1976,Aaron ,Gittens ,1992 )

29 ตัวอย่าง Case ที่ 2 1. เด็กชายไทย อายุแรกรับ 4: 1 ปี , พูดคำแรก 3 ปี
1. เด็กชายไทย อายุแรกรับ 4: 1 ปี , พูดคำแรก 3 ปี ประเมินพัฒนาการด้านภาษาและการพูด - ระดับภาษาระดับทิ่ 4 พูดเลียนแบบระดับประโยค ความเดียวและไม่เข้าใจความหมาย ( ได้โปรแกรม พัฒนาการบำบัดจากสหวิชาชีพ ) พูดตาม 75 % MLU – 2 หน่วยคำ จำนวนคำศัพท์ 25 คำ

30 Case ที่ 2 ( ต่อ ) ประเมินพัฒนาการทางภาษาและการพูดทุก 3เดือน
ประเมินครั้งสุดท้าย ตอน อายุ 6 : 1 ปี ระดับภาษาระดับที่ 5 พูดประโยคไม่ซับซ้อน MLU – 4.5 หน่วยคำ พูดตาม 50 % พูดเองระดับวลี บอกความต้องการ 100 % จำนวนคำกริยาที่พูดได้เอง 50 คำ

31 กราฟแสดงความก้าวหน้าพัฒนาการทางภาษาและการพูด

32 Pragmatics Problems การใช้ประโยคหลายรูปแบบ บอกเล่า ปฏิเสธ คำถาม ร้องขอ ขอบคุณ ขอโทษ ได้อย่างเหมาะสม การเรียงคำในประโยค การเรียงประโยคในการเล่าเรื่อง การใช้น้ำเสียงแสดงอารมณ์


ดาวน์โหลด ppt การประเมิน ความผิดปกติทางภาษาและการพูดในเด็กออทิสติค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google