บทที่ 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. นิยามและความหมายของวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี 2. ประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. สถานภาพของวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีของประเทศไทย 4. อนาคตของวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีของประเทศไทยกับ ความเจริญก้าวหน้าของชาติ
วิทยาศาสตร์ (Science) มาจากภาษาลาติน scientia แปลว่า ความรู้ (knowledge) นิยามของราชบัณฑิตยสถาน ความรู้ที่ได้จากการสังเกตและค้นคว้าจากการประจักษ์ทางธรรมชาติ หรือ วิชาที่ค้นคว้าได้จากหลักฐานและเหตุผล แล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2. วิทยาศาสตร์ประยุกต์
1. วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (Basic science) ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่อธิบายความเป็นไปของปรากฏการณ์ต่างๆในธรรมชาติ ซึ่งได้มาเพื่อสนองความต้องการอยากรู้อยากเห็น โดยไม่คำนึงถึงประโยชน์ของการค้นหา *** เช่น เคมี ฟิสิกส์ จุลชีววิทยา พฤกษศาสตร์ ธรณีวิทยา *** 2. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied science) เป็นวิทยาศาสตร์ที่นำเอาความรู้จากวิทยาศาสตร์พื้นฐานมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม สนองความต้องการของมนุษย์ด้านต่างๆ ก่อเกิดสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เฉพาะทาง ****เช่น เกษตรศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ วิศวกรรม****
สมมติฐาน (Hypothesis) เป็นข้อความที่คาดคะเนคำตอบของปัญหาล่วงหน้า ก่อนดำเนิน การทดลองเพื่อตรวจสอบความถูกต้องเป็นจริงของเรื่องนั้นๆต่อไป โดยอาศัยข้อมูลและประสบการณ์ความรู้เดิมเป็นพื้นฐาน หรือเป็นการคาดคะเนจากความเชื่อหรือแรงบันดาลใจของนักวิทยาศาสตร์เอง เป็นสิ่งที่แสดงความสัมพันธ์ที่เชื่อว่าจะเกิดขึ้น ระหว่างตัวแปรที่เป็นเหตุ (ตัวแปรอิสระ) และตัวแปรที่เป็นผล (ตัวแปรตาม) ไม่สามารถนำไปใช้อ้างอิงหรือพยากรณ์ได้ เพราะยังไม่ได้ผ่านการ ทดสอบยืนยันความเป็นจริง
กฎ (LAW) เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ประเภทหนึ่ง ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าถูกต้อง ทดสอบแล้วได้ผลตรงกันทุกครั้ง มักเน้นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล ซึ่งอาจเขียนอยู่ในรูปสมการได้ บอกได้เพียงว่าผลที่ปรากฎมีสาเหตุอะไร หรือเหตุกับผลสัมพันธ์กันอย่างไร ไม่สามารถอธิบายได้ว่าทำไมจึงเป็นเช่นนั้น
ทฤษฎี (Theories) เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ประเภทหนึ่ง มีลักษณะเป็นข้อความที่ใช้อธิบายปรากฏการณ์ทั้งหลาย
เทคโนโลยี (Technology) วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนำเอาวิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม เทคโนโลยีแสวงหากระบวนการและรูปแบบในการประยุกต์โดยอาศัยความรู้จากวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี 2 ลักษณะ คือ 1. ฮาร์ดแวร์ (hard ware) เทคโนโลยีในรูปของอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ + 2. ซอฟแวร์ (soft ware) เทคโนโลยีในรูปของวิธีการ กระบวนการต่างๆ ความรู้ และความมีฝีมือต่างๆ
ข้อดีของเทคโนโลยี ช่วยให้มนุษย์มีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น ยารักษาโรค ภูมิต้านทาน หรือวัคซีน หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด ความก้าวหน้าทางสาธารณสุข & โภชนาการ
ช่วยให้มนุษย์สามารถปรับปรุงพันธุ์พืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ เพื่อ ช่วยให้มนุษย์สามารถปรับปรุงพันธุ์พืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ เพื่อ เป็นอาหาร ผลิตสารปราบศัตรูพืชที่ปลอดภัย ผลิตปุ๋ยชีวภาพ ผลิตฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต เพื่อความสวยงาม
FLUORESCENT FISHES
Biological insecticide Bacillus thuringiensis spores and toxin crystals
3. ช่วยให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่สะดวกสบายขึ้น 3. ช่วยให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่สะดวกสบายขึ้น เครื่องมือ เครื่องจักร เครื่องทุ่นแรง เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ การติดต่อสื่อสารรวดเร็วขึ้น
ข้อเสียของเทคโนโลยี 1. ปรากฏการณ์เรือนกระจก 2. ช่องโหว่ของบรรยากาศ 1. ปรากฏการณ์เรือนกระจก 2. ช่องโหว่ของบรรยากาศ 3. มลสารต่างๆปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม ฝนกรด กากนิวเคลียร์ที่กำจัดยาก สารปราบศัตรูพืช และโลหะหนัก 4. การเพิ่มขึ้นของช่องว่างระหว่างประเทศที่ยากจน และประเทศที่ร่ำรวย
ปัญหาโลกร้อน ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Green House Effect)
SOURCES OF THE GREENHOUSE EFFECT
เทคโนโลยีด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น เทคโนโลยีด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น น้ำเสียจากโรงงาน เทคโนโลยี การบำบัดน้ำเสีย (Oxidation Pond) การควบคุมคุณภาพ (Kjaldahl Method) (Oxidation Pond) เทคโนโลยีการทำแห้ง (Spray Dry) (Oxidation Pond) เทคโนโลยี การแยกสาหร่ายจากน้ำ (Centrifuge) (Oxidation Pond) เทคโนโลยีการผลิต (Culture Pond) นำน้ำมาวิเคราะห์ สารอาหาร เติมสารอาหาร เลี้ยงสาหร่ายเพิ่ม ภาพที่ 2.8 การนำเอาน้ำทิ้งจากโรงงานแป้งมันสำปะหลังมาผลิต สาหร่ายเกลียวทองเพื่อเป็นอาหารสัตว์
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (1) เป็นพื้นฐานปัจจัยจำเป็นในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ (2) เป็นปัจจัยหลักที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนา (3) เป็นเรื่องราวของมนุษย์ และธรรมชาติ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีการพัฒนามาจากคำว่า “การวิจัยและพัฒนา” มีการพัฒนามาจากคำว่า “การวิจัยและพัฒนา” การวิจัยพื้นฐาน การวิจัยประยุกต์ พัฒนาการของการสำรวจ การ พัฒนาการในการผลิต/เทคโนโลยี นักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ผลที่น่า 20 จะสำเร็จ ปี เอกชน การลงทุนโดยรัฐบาล ================= ==================== อุตสาหกรรม รัฐบาล การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การวิจัยทางเทคโนโลยี ภาพที่ 2.2 แสดงแบบจำลองของเทคโนโลยี (ดัดแปลงมาจาก Roman 1979)
ในเกม จะมีประตู 3 สามประตูให้ผู้เล่นเลือก โดย มีหนึ่งประตูที่มีรางวัลอยู่หลังประตู (ซึ่งในรายการ "Let's Make a Deal" คือ รถยนต์) ส่วนอีกสองประตูที่เหลืออยู่นั้นจะไม่มีรางวัล (ในรายการ "Let's Make a Deal" นั้นจะมีแพะ) ผู้เล่นนั้นจะเลือกหนึ่งประตูและได้สิ่งที่อยู่ด้านหลังประตูนั้นเป็นรางวัล แต่ก่อนที่จะเปิดประตูที่ผู้เล่นเลือกไว้เพื่อดูว่ามีอะไรอยู่ด้านหลัง ผู้ดำเนินรายการจะเปิดประตูหนึ่งประตูที่มีแพะอยู่จากสองประตูที่เหลือ หลังจากนั้นผู้ดำเนินรายการจะให้โอกาสผู้เล่น เลือกเปลี่ยนประตูที่เลือกไว้แล้ว กับประตูที่เหลืออยู่ ปัญหา : ผู้เล่นควรจะเลือกเปลี่ยนประตูที่เลือกไว้แล้วกับอีกประตูหนึ่งที่เหลืออยู่หรือไม่
Johann Wolfgang von Goethe (1749 – 1832) “ผู้ที่ไม่สามารถเชื่อมโยงตัวเองเข้ากับประวัติศาสตร์ในรอบสามพันปีได้ ผู้นั้นจะต้องหาเช้ากินค่ำตลอดไป”
2.2 วิวัฒนาการของเทคโนโลยี 2.2 วิวัฒนาการของเทคโนโลยี (Evolution of Technology) วิวัฒนาการของเทคโนโลยี หมายถึง ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบหรือเครื่องมือที่เกิดขึ้นอย่างซับช้อนและมีการเปลี่ยนแปลงตามลำดับอย่างต่อเนื่อง ปัจจัยภายนอก “STEP” 1. สังคม (Social) 2. เทคโนโลยี (Technology) 3. เศรษฐกิจ (Economic) 4. การเมือง (Politic)
ข้อจำกัดที่สำคัญทางเทคโนโลยี เทคโนโลยีที่ผลิตขึ้นจะต้องเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนหรือสังคมนั้นๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรม 2. เทคโนโลยีที่ดีและมีคุณภาพจะต้องไม่ทำลายสภาวะแวดล้อม 3. เทคโนโลยีที่ดีจะต้องทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น การผลิตเทคโนโลยีใหม่ๆ จะต้องมีการวางแผนและมีการวิจัย ตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ
1. ธรรมชาติของเทคโนโลยี (Nature of technology) อัตราของวิวัฒนาการทางเทคโนโลยี 1. ธรรมชาติของเทคโนโลยี (Nature of technology) ความซับซ้อนของเทคโนโลยี มักจะทำให้เทคโนโลยีพัฒนาได้เร็ว 2. ขั้นตอนของการพัฒนา (Stage of developement) เทคโนโลยีที่เป็นแม่แบบ (Prototype) จะมีการพัฒนาเร็วกว่า เทคโนโลยีในปัจจุบัน 3. ปัจจัยภายนอก (External environment)
เตาถลุงเหล็กทรงสูงที่มีลมร้อนเป่าเข้าทางด้านล่างเตา ซึ่งเรียกว่า BLAST FURNACE ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นภายในเตาเผามีอุณหภูมิสูงถึง 1700 องศาเซลเซียส
JAMES WATT ( 1736 – 1819 )
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย สถาบันนานาชาติที่ทำหน้าที่ในการจัด อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ International Institute for Management Development (IMD) (59 ประเทศ:ปี2555) World Economic Forum (WEF) (139 ประเทศ:ปี2553) World bank (183 ประเทศ:ปี2553)
International Institute for Management Development (IMD) สำนักงานใหญ่ อยู่ที่กรุงโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จัดทำ The World Compettitiveness Yearbook (WCY)
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินของ IMD ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ - ข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งได้จาก แหล่งข้อมูลขององค์กรเศรษฐกิจระหว่างประเทศ และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องของแต่ละประเทศ - การสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในแต่ละประเทศ
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ที่จัดโดย IMD ประจำปี 2552
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ที่จัดโดย IMD ประจำปี 2553
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ที่จัดโดย IMD ประจำปี 2554
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ที่จัดโดย IMD ประจำปี 2555
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ที่จัดโดย IMD ประจำปี 2556
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ที่จัดโดย IMD ประจำปี 2557
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ที่จัดโดย IMD ประจำปี 2558
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ โดยรวม ปี 2546 - 2557
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ปี 2546 - 2556 2546-48 : 51 ประเทศ, 2549-50 : 53 ประเทศ, 2551 : 55 ประเทศ, 2552 : 57 ประเทศ 2553-54 : 58 ประเทศ, 2555 : 59 ประเทศ, 2556-57 : 60 ประเทศ
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยจำแนกตามปัจจัยหลัก โดย IMD ปี 2546 - 2557 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 สมรรถนะทางเศรษฐกิจ 13 9 7 19 15 12 14 6 10 ประสิทธิภาพของภาครัฐ 18 20 27 22 17 23 26 28 ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ 25 21 34 โครงสร้างพื้นฐาน 43 42 39 อันดับโดยรวม 29 33 30 จำนวนประเทศ 58 59 60
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในปี 2550 จำแนกตามปัจจัยหลักในแต่ละหมวด ที่มา : สวทช
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในปี 2551 จำแนกตามปัจจัยหลักในแต่ละหมวด
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในปี 2552 จำแนกตามปัจจัยหลักในแต่ละหมวด
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในปี 2553 จำแนกตามปัจจัยหลักในแต่ละหมวด
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในปี 2554 จำแนกตามปัจจัยหลักในแต่ละหมวด
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในปี 2555 จำแนกตามปัจจัยหลักในแต่ละหมวด
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ในปี 2556 จำแนกตามปัจจัยหลักในแต่ละหมวด
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ในปี 2557 จำแนกตามปัจจัยหลักในแต่ละหมวด
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ในปี 2558 จำแนกตามปัจจัยหลักในแต่ละหมวด
2010
2010
2010
2010
2010
2011
2011
2011
2011
2011
INFRASTRUCTURE ของประเทศไทย
INFRASTRUCTURE ของประเทศไทย ปี 2552 INFRASTRUCTURE STRENGTHS RANK Mobile telephone costs 1 Mobile cellular tariffs - US$ per minute local call, off-net (peak) Fixed Broadband Tariffs 7 Monthly fee (residential), US$ High-tech exports 9 Percentage of manufactured exports Dependency ratio 11 Population under 15 and over 64 years old, divided by active population (15 to 64 years) Mobile telephone subscribers 12 Number of subscribers per 1000 inhabitants
INFRASTRUCTURE ของประเทศไทย ปี 2552 INFRASTRUCTURE WEAKNESSES RANK Total health expenditure 54 Percentage of GDP Medical assistance 53 Number of inhabitants per physician and per nurse Broadband subscribers 53 Number of subscribers per 1000 inhabitants Total expenditure on R&D 53 Internet users 52 Number of internet users per 1000 people / Source: Computer Industry Almanac Pupil-teacher ratio (secondary education) 52 Ratio of students to teaching staff
INFRASTRUCTURE ของประเทศไทย ปี 2553 INFRASTRUCTURE STRENGTHS RANK Mobile telephone costs 3 Mobile cellular tariffs - US$ per minute local call, off-net (peak) Dependency ratio 9 Population under 15 and over 64 years old, divided by active population (15 to 64 years) High-tech exports 10 Percentage of manufactured exports Mobile telephone subscribers 12 Number of subscribers per 1000 inhabitants Fixed Broadband Tariffs 16 Monthly fee (residential), US$
INFRASTRUCTURE ของประเทศไทย ปี 2553 INFRASTRUCTURE WEAKNESSES RANK Medical assistance 55 Number of inhabitants per physician and per nurse Broadband subscribers 54 Number of subscribers per 1000 inhabitants Internet users 53 Number of internet users per 1000 people / Source: Computer Industry Almanac Total health expenditure 53 Percentage of GDP Pupil-teacher ratio (secondary education) 53 Ratio of students to teaching staff Total expenditure on R&D 53
INFRASTRUCTURE ของประเทศไทย ปี 2554 STRENGTHS WEAKNESSES
INFRASTRUCTURE ของประเทศไทย ปี 2555
INFRASTRUCTURE ของประเทศต่างๆปี 2552 JAPAN STRENGTHS RANK Life expectancy at birth 1 Average estimate Sustainable development 1 is a priority in companies. (Survey) WEAKNESSES Language skills 55 are meeting the needs of enterprises. (Survey) Mobile telephone costs 51 Mobile cellular tariffs - US$ per minute local call, off-net (peak
INFRASTRUCTURE ของประเทศต่างๆปี 2553 JAPAN STRENGTHS RANK Life expectancy at birth 1 Average estimate Sustainable development 1 is a priority in companies. (Survey) Green technologies 2 are quickly turned into competitive advantage (survey) Business expenditure on R&D 3 Percentage of GDP Patent productivity 4 Patents granted to residents / R&D personnel in business ('000s) Total expenditure on R&D 4 WEAKNESSES Language skills 55 are meeting the needs of enterprises. (Survey) Mobile telephone costs 51 Mobile cellular tariffs - US$ per minute local call, off-net (peak) Dependency ratio 51 Population under 15 and over 64 years old, divided by active population (15 to 64 years)
INFRASTRUCTURE ของประเทศญี่ปุ่น ปี 2554 STRENGTHS WEAKNESSES
INFRASTRUCTURE ของประเทศญี่ปุ่น ปี 2555
INFRASTRUCTURE ของประเทศต่างๆปี 2552 KOREA STRENGTHS RANK Patent productivity 1 Patents granted to residents / R&D personnel in business ('000s) Sustainable development 3 is a priority in companies. (Survey) WEAKNESSES Pupil-teacher ratio (primary education) 51 Ratio of students to teaching staff University education 51 meets the needs of a competitive economy. (Survey) Qualified engineers 50 are available in your labor market. (Survey) Pupil-teacher ratio (secondary education) 50
INFRASTRUCTURE ของประเทศต่างๆปี 2553 KOREA STRENGTHS RANK Patent productivity 1 Patents granted to residents / R&D personnel in business ('000s) Higher education achievement 2 Percentage of population that has attained at least tertiary education for persons 25-34 Sustainable development 2 is a priority in companies. (Survey) Business expenditure on R&D 5 Percentage of GDP Total expenditure on R&D 5 WEAKNESSES Pupil-teacher ratio (primary education) 51 Ratio of students to teaching staff Pupil-teacher ratio (secondary education) 51 Qualified engineers 47 are available in your labor market. (Survey) University education 46 meets the needs of a competitive economy. (Survey) Medical assistance 45 Number of inhabitants per physician and per nurse
INFRASTRUCTURE ของประเทศเกาหลี ปี 2554 STRENGTHS WEAKNESSES
INFRASTRUCTURE ของประเทศเกาหลี ปี 2555
INFRASTRUCTURE ของประเทศต่างๆปี 2552 MALAYSIA STRENGTHS RANK High-tech exports 2 Percentage of manufactured exports Electricity costs for industrial clients 7 US$ per kwh Science in schools 7 is sufficiently emphasized. (Survey) Funding for technological development 7 is readily available. (Survey) WEAKNESSES Energy intensity 54 Commercial energy consumed for each dollar of GDP in kilojoules Secondary school enrollment 52 Percentage of relevant age group receiving full-time education Dependency ratio 51 Population under 15 and over 64 years old, divided by active population (15 to 64 years) Total health expenditure 50 Percentage of GDP
INFRASTRUCTURE ของประเทศต่างๆปี 2553 MALAYSIA STRENGTHS RANK High-tech exports 4 Percentage of manufactured exports Science in schools 4 is sufficiently emphasized. (Survey) Funding for technological development 4 is readily available. (Survey) Public and private sector ventures 4 are supporting technological development. (Survey) Technological regulation 5 supports business development and innovation. (Survey) WEAKNESSES Secondary school enrollment 56 Percentage of relevant age group receiving full-time education Dependency ratio 54 Population under 15 and over 64 years old, divided by active population (15 to 64 years) Total health expenditure 51 Percentage of GDP Internet bandwidth speed 51 Per internet user (kbps) Energy intensity 54 Commercial energy consumed for each dollar of GDP in kilojoules
INFRASTRUCTURE ของประเทศมาเลเซียปี 2554 STRENGTHS WEAKNESSES
INFRASTRUCTURE ของประเทศมาเลเซีย ปี 2555
INFRASTRUCTURE ของประเทศต่างๆปี 2552 SINGAPORE STRENGTHS RANK Higher education achievement 1 Percentage of population that has attained at least tertiary education for persons 25-34 Science in schools 1 is sufficiently emphasized. (Survey) Maintenance and development of infrastructure 1 are adequately planned and financed. (Survey) WEAKNESSES Total health expenditure 55 Percentage of GDP Total public expenditure on education 52 Pupil-teacher ratio (secondary education) 51 Ratio of students to teaching staff
INFRASTRUCTURE ของประเทศต่างๆปี 2553 SINGAPORE STRENGTHS RANK Higher education achievement 1 Percentage of population that has attained at least tertiary education for persons 25-34 Science in schools 1 is sufficiently emphasized. (Survey) Technological regulation 1 supports business development and innovation. (Survey) Maintenance and development of infrastructure 1 are adequately planned and financed. (Survey) University education 1 meets the needs of a competitive economy. (Survey) WEAKNESSES Total health expenditure 56 Percentage of GDP Total public expenditure on education 52 Investment in telecommunications 49 Pupil-teacher ratio (primary education) 47 Ratio of students to teaching staff Pupil-teacher ratio (secondary education) 47
INFRASTRUCTURE ของประเทศสิงคโปร์ ปี 2554 STRENGTHS WEAKNESSES
INFRASTRUCTURE ของประเทศสิงคโปร์ ปี 2555
อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศไทย ปี 2546 -2556 ปี 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 วิทยาศาสตร์ 46 47 45 49 37 40 เทคโนโลยี 41 38 48 43 36 52 50 จำนวนประเทศ 51 53 55 57 58 59 60 ที่มา : IMD
อันดับความสามารถในการแข่งขัน ด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ของประเทศต่างๆโดยรวม ปี 2546 - 2557
อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศต่างๆโดยรวม ปี 2546-2557
ไอเอ็มดีระบุว่าในปี2554นี้ ขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยปรับตัวดีขึ้นเพียงส่วนเดียว คือ ประสิทธิภาพด้านธุรกิจ ซึ่งขยับขึ้นไปอยู่อันดับที่ 19 จากอันดับ 20 เมื่อปีที่แล้ว ขณะที่ประสิทธิภาพด้านเศรษฐกิจลดลงไปอยู่ที่อันดับ 10 จากอันดับ 6 เมื่อปี 2553 ประสิทธิภาพของรัฐบาลลดลงไปอยู่ที่อันดับ 23 จากเดิมอันดับ 18 และสภาพโครงสร้างพื้นฐานลดลงไปอยู่ที่อันดับ 47 จากอันดับ 46 เมื่อปีที่แล้ว ไอเอ็มดี ชี้ว่า ไทยเผชิญปัญหาท้าทายหลากหลายในปี 2554 เริ่มตั้งแต่การแปลงเจตนารมณ์ให้กลายเป็นการปฏิบัติอย่างจริงจัง ในการทำให้เศรษฐกิจตั้งอยู่บนพื้นฐานของความรู้และการสร้างสรรค์ การยกระดับเศรษฐกิจให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการแก้ปัญหาราคาโภคภัณฑ์พุ่งสูงขึ้น ขณะเดียวกัน ไทยยังต้องเร่งใช้จ่ายงบประมาณ และเพิ่มการลงทุนด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน ตลอดจนแก้ไขปัญหาขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิต นอกจากนี้ ไทยต้องสร้างความปรองดองและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของคนในชาติ และแก้ไขข้อขัดแย้งทางการเมืองระหว่างพรมแดนด้วย
เป้าหมายของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มีดำริที่จะยกอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยให้อยู่ในอันดับที่ 15 ภายในปี 2558 ซึ่งเป็นปีที่อาเซียนจะรวมตัวกันเป็น “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)”
เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ ความสำคัญของเทคโนโลยีต่อการพัฒนาประเทศ ผู้ใดครองเทคโนโลยี ผู้นั้นครองเศรษฐกิจ ผู้ใดครองเทคโนโลยี ผู้นั้นครองอำนาจ
สถานภาพทางเทคโนโลยีในปัจจุบัน อยู่ในระดับที่เรียกว่ารับเทคโนโลยีจากต่างประเทศเข้ามา แล้วดัดแปลงและพัฒนาต่อเพียงเล็กน้อย จึงต้องพึ่งพาเทคโนโลยีนำเข้าจากต่างประเทศเป็นอย่างมาก
รูปแบบการถ่ายทอดเทคโนโลยีของไทย 1. ซื้อเทคโนโลยีแบบเบ็ดเสร็จ 2. การนำผลิตภัณฑ์ของต่างประเทศมาดัดแปลง 3. การส่งคนไทยไปศึกษาและดูงานในต่างประเทศ 4. การเผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อมวลชนและจัดพิมพ์เป็นเอกสารวิชาการ เทคโนโลยีนำเข้า 1. การเกษตร 2. ชีวภาพ 3. อุตสาหกรรม 4. การแพทย์ 8. วัสดุศาสตร์ 7. ระดับสูง 6. การขนส่ง 5. สื่อสารโทรคมนาคม
รูปแบบการใช้เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาประเทศ เพิ่มรายได้ เพิ่มคุณภาพชีวิต - ขึ้นกับชนิดของโครงการที่ต้องการพัฒนานั้นๆ ว่ามีเทคโนโลยีใดที่เหมาะสุด - เทคโนโลยีที่เหมาะสม เป็นสิ่งที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน
การพัฒนาโครงสร้างของระบบอุตสาหกรรมของประเทศไทย ต้องใช้เทคโนโลยีต่างๆดังนี้เข้าช่วย 1. เทคโนโลยีด้านมาตรวิทยา 2. เทคโนโลยีด้านเทคนิคการผลิตและการควบคุมคุณภาพ 3. เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบและการผลิต 4. เทคโนโลยีด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และคุณภาพ 5. เทคโนโลยีด้านการจัดการต้นทุน มาตรฐานสินค้า และสิ่งแวดล้อม
จากการดำเนินงานมาหนึ่งทศวรรษ ความสำเร็จของการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศ จากการดำเนินงานมาหนึ่งทศวรรษ 1. สร้างบรรยากาศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาผลชัดเจนในภาครัฐ > เอกชน 3. การเตรียมบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศ 1. ภาคเอกชนยังมีขีดความสามารถทางเทคโนโลยีต่ำ 2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ยังมีปัญหาในการเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย 3. กำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศยังไม่เพียงพอทั้งใน เชิงปริมาณและคุณภาพ 4. โครงสร้างพื้นฐานยังไม่เพียงพอที่จะสนับสนุนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศ 5. ประชาชนทั่วไปยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญและไม่มีความรู้เกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. ระบบบริหารจัดการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไม่มี เอกภาพ มีประสิทธิผลต่ำ
แนวคิดในการแก้ปัญหา 1. ประเทศไทยต้องเร่งแก้ปัญหาแบบคู่ขนาน คือ ต้องกระตุ้นให้ภาคเอกชนเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขันมีการแลกเปลี่ยนความรู้กับภาครัฐ เพื่อสร้างเทคโนโลยีของตนเอง 2. พัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งระยะสั้น และ ยาว 3. ต้องสร้างความรู้และความเป็นเลิศในเทคโนโลยีที่จำเป็นต่อการสร้างความเข้มแข็งของอุสาหกรรม
บริการด้านโครงสร้างพื้นฐาน ที่ภาครัฐจัดให้ภาคเอกชน 1. บริการข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ 2. การวิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบ 3. เครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ 4. ที่ปรึกษา 5. ห้องปฏิบัติการโรงประลองและหน่อวยบ่มเพาะเทคโนโลยี 6. การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ logo 7. มาตรฐานและควบคุทคุณภาพ 8. การฝึกอบรมนักวิจัย 9. การผลักดันให้ร่วมมือวิจัยกับภาครัฐและการรวมกลุ่มวิจัย
การนำมาซึ่งความมั่งคั่ง รูปธรรม : สินค้าที่จับต้องได้ นามธรรม : ทรัพย์สินทางปัญญา **** เทคโนโลยีสารสนเทศ ****
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547-2556) พ.ร.บ. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2551
พ.ร.บ. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2551 นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๔)
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ. ศ นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๔) วัตถุประสงค์ เพื่อการพัฒนาประเทศไทยให้มีระบบเศรษฐกิจที่มีการขยายตัวอย่างมี คุณภาพและมีเสถียรภาพ ตลอดจนมีการกระจายประโยชน์อย่างเป็น ธรรมสู่สังคม ชุมชน ท้องถิ่น โดยได้อัญเชิญ“ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” มาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาควบคู่ไปกับอนาคตของ ประเทศที่มี “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นเครื่องมือช่วย พัฒนาประเทศไทย” วิสัยทัศน์ “นวัตกรรมเขียว เพื่อสังคมดีมีคุณภาพและเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ”
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ. ศ นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๔) กำหนดเป้าหมายหลักไว้ ๑๒ เป้าหมายดังนี้ ๑. พัฒนาคุณภาพ สุขภาพของประชาชนคนไทยโดยกำหนดให้ - การป้องกัน รักษาการเจ็บป่วยโรคที่ป้องกันได้และโรคอุบัติใหม่มีการพึ่งพาตนเองโดยใช้งาน วทน. ภายในประเทศเพื่อลดการนำเข้าเทคโนโลยีทางการแพทย์ ตลอดจนมีความมั่นคงในชีวิต ๒. พัฒนาแผนชุมชนนวัตกรรมแบบมีส่วนร่วม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนำแผนชุมชนไปใช้ประกอบการจัดสรรงบประมาณโดยกำหนดให้ - ชุมชนมีการใช้ วทน. ภายในประเทศเพื่อการต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสังคมสีเขียวในการเกษตรกรรม การค้า การดำรงชีวิต และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - ผลิตภัณฑ์และบริการของวิสาหกิจชุมชนมีการใช้ วทน. ภายใน ประเทศในการสร้างคุณภาพและมาตรฐานเพื่อสังคมสีเขียว ตลอดจนผลิตภาพการผลิตขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๓ ต่อปี
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ. ศ นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๔) ๓. การยกระดับความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพโดยการใช้ วทน. ภายในประเทศโดยกำหนดให้ - ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการผลิต ธุรกิจบริการมีการใช้ วทน. ภายในประเทศเพื่อเศรษฐกิจสีเขียวและสามารถทำให้ผลิตภาพการผลิตขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๓ ต่อปี ๔. สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างคุณค่า และนวัตกรรมโดยการใช้ วทน. ภายใน ประเทศโดยกำหนดให้ - ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการผลิต ธุรกิจบริการมีการใช้ วทน. ภายในประเทศเพื่อเศรษฐกิจสีเขียวและสามารถทำให้มูลค่าเพิ่มขยายตัวเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๕ ต่อปี
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ. ศ นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๔) ๕. การส่งเสริมการวางแผนและการปรับตัวต่อความเปลี่ยนแปลงและการกีดกันทางการค้าโดยการใช้ วทน. ภายในประเทศโดยกำหนดให้ - มีการใช้ วทน. ภายในประเทศเพื่อเพิ่มสัดส่วนการใช้สิทธิประโยชน์จากความตกลงทางการค้าเสรีและทำให้การส่งออกในสาขาเป้าหมายขยายตัวไม่น้อยกว่าการส่งออกรวมของประเทศ ๖. การส่งเสริมการพัฒนาแบบจำลองพยากรณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการส่งเสริมการพัฒนาและใช้ วทน. ภายในประเทศเพื่อการปรับตัว (Adaptation Technology) โดยกำหนดให้ - งาน วทน. สามารถสนับสนุนป้องกันการสูญเสียชีวิตและลดมูลค่าความเสียหายรวมได้กว่าร้อยละ ๑ ของ GDP
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ. ศ นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๔) ๗. การส่งเสริมการพัฒนาและใช้ประโยชน์จาก วทน. ภายในประเทศเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยกำหนดให้ - งาน วทน. สามารถสนับสนุนการเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกเป็นร้อยละ ๒๐-๒๕ โดยปริมาณของเสียและมลพิษลดลงเฉลี่ยร้อยละ ๕ ต่อปี ๘. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการพัฒนา โดยกำหนดให้ - งาน วทน. สามารถช่วยให้การบริโภคที่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศลดลงร้อยละ ๑๐ ต่อปี ๙. การบูรณาการการพัฒนาและผลิตกำลังคนด้าน วทน. ของประเทศเพื่อการสนับสนุนระบบเศรษฐกิจและสังคมโดยกำหนดให้ - เพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการของตลาดไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ. ศ นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๔) ๑๐. การยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถทางด้านทักษะองค์ความรู้ กำลังคนด้าน วทน. โดยกำหนดให้ - ผลิตภาพแรงงานของกำลังคนด้าน วทน.ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างน้อยไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๕ ต่อปี ๑๑. การสร้างแรงจูงใจกับบุคลากรด้าน วทน. โดยกำหนดให้ - เพิ่มสัดส่วนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาเป็น ๒๕ คนต่อประชากร ๑๐,๐๐๐ คน โดยเป็นบุคลากรที่ทำงานในภาคเอกชนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๑๒. พัฒนาปัจจัยด้านเครื่องมือการเงินการคลัง ตลาด โครงสร้างพื้นฐาน กฎหมาย กฎระเบียบ การบริหารจัดการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดย กำหนดให้ - มีอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐาน วทน. ให้อยู่ใน ลำดับไม่เกินที่ ๒๕ ของโลก (IMD) เกิดการลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาไม่น้อย กว่าร้อยละ ๒ ของ GDP มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนใน R&D ไม่น้อย กว่าร้อยละ ๗๐
The Micro world The Nano world Ant ~ 5 mm Head of a pin 1-2 mm Fly ash ~ 10-20 mm Human hair ~ 10-50 mm wide The Micro world MicroElectroMechanical devices 10 -100 mm wide Red blood cells with white cell ~ 2-5 mm Nanotube electrode ATP synthase ~10 nm diameter The Nano world Nanotube transistor Carbon nanotube ~2 nm diameter Iron atoms on copper surface Corral diameter ~14 nm DNA ~2 nm diameter Atoms of silicon spacing ~tenths of nm From office of Basic Energy Sciences Office of Science, U.S. DOE Version 03-05-02
นาโนเทคโนโลยี…คืออะไร? “ เทคโนโลยีประยุกต์ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการ การสร้าง สังเคราะห์วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กมากในระดับอนุภาคของอะตอมหรือโมเลกุล (0.1 นาโนเมตร ถึง 100 นาโนเมตร) ส่งผลให้โครงสร้างของวัสดุหรือสสารมีคุณสมบัติพิเศษ ไม่ว่าทางด้านฟิสิกส์ เคมี และชีวภาพ ทำให้มีผลประโยชน์ต่อผู้ใช้สอยและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ National Nanotechnology Center (NANOTEC) NSTDA
ทำไมนาโนเทคโนโลยีจึงสำคัญ? นาโนเทคโนโลยีเป็นเทคโนโลยีแห่งการผลิตในอนาคต 1. สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับทุกอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมไฮเทค (นาโนอิเล็กทรอนิกส์ ) คอมพิวเตอร์, โทรศัพท์มือถือ, หน่วยความจำความจุสูง ขนาดเล็กและเบา อุตสาหกรรมยานยนต์และสิ่งทอ (วัสดุนาโน) ตัวถังรถยนต์, ผ้าไหมกันน้ำไม่ยับ วัสดุที่เบาและแข็งแกร่ง การแพทย์และสาธารณสุข (นาโนชีวภาพ) ยารักษาโรคมะเร็งเฉพาะจุด, lab-on-a-chip 2. ช่วยให้ค้นพบวัสดุใหม่ที่มีคุณสมบัติพิเศษซึ่งเป็นรากฐานของอุตสาหกรรม การผลิตต่างๆไม่เคยมีมาก่อน ฟูลเลอรีน, ท่อคาร์บอนนาโน เป็นต้น 3. ช่วยยกระดับ/เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมที่มีอยู่เดิมและริเริ่มอุตสาหกรรมใหม่ ระบบเศรษฐกิจโมเลกุล
บัคมินสเตอร์ฟลูเลอรีน หรือ บัคกี้บอลบัคมินสเตอร์ฟูลเลอรีน หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า บัคกี้บอล เป็นสารที่มีโครงสร้างโมเลกุล ประกอบด้วยคาร์บอน 60 อะตอม เชื่อมต่อกันเป็นรูปทรงกลมคล้ายกับลูกฟุตบอล จัดเป็นสารในกลุ่มฟูลเลอรีนส์ ซึ่งเป็นอัญรูปแบบที่สามของ คาร์บอนต่อจากเพชรและกราไฟต์ บัคกี้บอลมีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางโมเลกุลประมาณ 1 นาโนเมตร ประกอบด้วยวงหกเหลี่ยมของคาร์บอน จำนวน 20 วง และวง ห้าเหลี่ยม จำนวน 12 วง โดยที่บัคกี้บอลถือว่าเป็นโมเลกุล สารอินทรีย์ที่มีรูปทรงสมมาตรที่สุดเท่าที่มนุษย์เคยค้นพบ ในขณะนี้ นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกกำลังพากันค้นหาแนวทางในการนำเอาบัคกี้บอลมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ กันอย่างมากมาย เช่น สามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นยารักษาโรคได้หลายชนิด และใช้เป็นพาหนะนำส่งยาแบบนำวิถี ด้านนาโนอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากบัคกี้บอลมีคุณสมบัติเป็นสารกึ่งตัวนำ จึงมีการใช้บัคกี้บอลเป็นส่วนประกอบหลักในการพัฒนาเซลล์สุริยะ รวมทั้งการใช้บัคกี้บอลเป็นตัวบรรจุอะตอมโลหะและโมเลกุลของก๊าซชนิดต่างๆ เช่น ไฮโดรเจน เป็นต้น