พัฒนาการที่ต้องติดตามเฝ้าระวัง (Red Flags in Child Development)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้นบกพร่องทางการเรียนรู้และออทิซึม
Advertisements

แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น บกพร่องทางการเรียนรู้ KUS-SI Rating Scales: ADHD/LD/Autism(PDDs) โดย นางกนกพร อินรัมย์ ครูชำนาญการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559.
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
Principle of Marketing
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
Market System Promotion & Development Devision
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
บทที่ 8 เครื่องมือการวิจัย
ความสำคัญของการพัฒนาการและระบบบริการดูแลพัฒนาการเด็ก
การบำบัดรักษาทางสังคมจิตใจ สำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
การประเมิน ความผิดปกติทางภาษาและการพูดในเด็กออทิสติค
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
17 มิถุนายน 2559 โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
สื่อการเรียนรู้ครูต้อม ประโยคควรรู้ในครอบครัว1 รายวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 นางสาวลัดดาวัลย์ เขื่อนคำ ครูผู้สอน โรงเรียนสันมหาพนวิทยา อำเภอแม่แตง.
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)
รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61.
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
โลกกว้างที่แพทย์ต้องเผชิญ
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
Delirium in critical patient
วิลเลียม ฮาร์วีย์ (William Harvey) ด.ญ.กัณฐิกา จันแย้ ม.4.3 เลขที่ 1
บทที่ 9 การอธิบายกระบวนการแบบต้นไม้.
การใช้โปรแกรม Care Manager เพื่อช่วย Care manager ในการบริหารจัดการ
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
กองอสังหาริมทรัพย์ กรมส่งกำลังบำรุงทหารบก.
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล.
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Psychoeducation and counseling techniques for common child psychiatric problems นพ. ชาญณรงค์ ชัยอุดมสม สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาการที่ต้องติดตามเฝ้าระวัง (Red Flags in Child Development) การคัดกรองภาวะออทิสติกด้วย PDDSQ ไพรออ มูลวิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์

การพัฒนาเครือข่ายระบบการดูแลเด็กพัฒนาการล่าช้า ปีงบประมาณ 2560 การพัฒนาเครือข่ายระบบการดูแลเด็กพัฒนาการล่าช้า หมายถึง การพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขระดับทุติยภูมิขึ้นไป สำหรับในเขต กทม.ให้เป็นระดับปฐมภูมิขึ้นไป ให้มีระบบการดูแลเด็กพัฒนาการล่าช้าที่มีองค์ประกอบ 3 ด้าน (อ้างอิงตามแนวทางการพัฒนาระบบคุณภาพบริการสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับรพศ. รพท. รพช. และรพ.สต.) ตัวชี้วัด ร้อยละของเด็กพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ (เป้าหมายร้อยละ 70)

การพัฒนาเครือข่ายระบบการดูแลเด็กพัฒนาการล่าช้า องค์ประกอบ 3 ด้าน 1. ผู้รับผิดชอบในการให้บริการดูแลเด็กพัฒนาการล่าช้า มีการกำหนดสถานที่ วัน เวลาให้บริการที่ชัดเจน 2. การดูแลทั้งด้านร่างกายและจิตใจ โดยให้บริการ 2.1 คัดกรองภาวะออทิสติกด้วยเครื่องมือมาตรฐาน เช่น PDDSQ 2.2 กระตุ้นพัฒนาการด้วยเครื่องมือมาตรฐานของ สธ. เช่น TEDA4I ,DSI, เครื่องมือตามมาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น 2.3 ให้คำแนะนำ/คำปรึกษาเบื้องต้นแก่พ่อแม่/ผู้ดูแลเด็ก 2.4 Home Program สำหรับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 2.5 รับส่งต่อ และ/หรือ ส่งต่อไปยังเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกระบบ สธ. เช่น สถานบริการฯระดับที่สูงขึ้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์การศึกษาพิเศษ โรงเรียนการศึกษาพิเศษ เป็นต้น 3. ฐานข้อมูลของผู้มารับบริการที่เชื่อถือได้เชื่อมโยงกันทั้งเครือข่าย

No Red flags Yes No Yes ผังการไหลระบบดูแลช่วยเหลือเด็กพัฒนาการล่าช้า หน่วยงาน/ ผู้ให้บริการ คัดกรองพัฒนาการเด็ก 9,18,30,42 เดือน (Z00.1) DSPM รพ.สต. No สื่อส่งเสริมพัฒนาการ สงสัยพัฒนาการล่าช้า (R62.0) พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการ Red flags Yes ให้คำแนะนำส่งเสริมพัฒนาการ แล้วนัดมาประเมินซ้ำ 1 เดือน No พัฒนาการล่าช้า รพช. Yes

ผังการไหลระบบการดุแลช่วยเหลือเด็กพัฒนาการล่าช้า คัดกรองพัฒนาการเด็ก 9,18,30,42 เดือน(Z00.1) หน่วยงาน/ ผู้ให้บริการ รับส่งต่อจาก รพ.สต. DSPM2 ล่าช้า DSPM/DAIM รพช.รพท.รพศ. No สงสัยพัฒนาการล่าช้า(R62.0) สื่อส่งเสริมพัฒนาการ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ส่งเสริมพัฒนาการ กระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I Yes ให้คำแนะนำส่งเสริมพัฒนาการ แล้วนัดมาประเมินซ้ำ 1 เดือน No พัฒนาการล่าช้า คัดกรอง ออทิสติกด้วย PPDSQ (กรณีล่าช้าภาษา+/-สังคม) Yes

ผังการไหลระบบการดุแลช่วยเหลือเด็กพัฒนาการล่าช้า คัดกรอง ออทิสติกด้วย PPDSQ (กรณีล่าช้าภาษา+/-สังคม) กระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I DSPM -ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย หน่วยงาน/ ผู้ให้บริการ รพช.รพท. รพศ. สื่อส่งเสริมพัฒนาการ - พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กส่งเสริมพัฒนาการ No พัฒนาการไม่ก้าวหน้า No สงสัย ออทิสติก TEDA4I - กระตุ้นพัฒนาการกรณีก้าวหน้า Yes Yes ส่งต่อเพื่อวินิจฉัย บำบัดรักษาเฉพาะปัญหาโดยสหวิชาชีพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร.ร.การศึกษาพิเศษ ศูนย์การศึกษาพิเศษ ดูแลต่อเนื่อง พัฒนาการ ไม่ก้าวหน้า+มีโรคร่วม +ยุ่งยากซับซ้อน No รพ.Node รพจ./สถาบัน Yes

พัฒนาการที่ต้องติดตามเฝ้าระวัง (Red Flags in Child Development)

Red Flags (ธงแดง) สัญญาณเตือนหรือสัญญาณอันตราย บอกว่าให้เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ให้รีบส่งต่อเพื่อการตรวจประเมินวินิจฉัยและบำบัดรักษา พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

2 เดือน คว่ำได้ (ก่อน 3 เดือน) มีปัญหากล้ามเนื้อแข็งเกร็ง 2 เดือน คว่ำได้ (ก่อน 3 เดือน) มีปัญหากล้ามเนื้อแข็งเกร็ง ยังไม่จ้องหน้าสบตา อาจมีความผิดปกติในการมองเห็น การรับรู้หรือทักษะทางสังคม พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

4 เดือน ท่านั่งยังไม่สามารถชันคอ หันซ้ายขวาได้ดี อาจเป็นจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง มือกำตลอดเวลา จากมีปัญหากล้ามเนื้อเกร็งผิดปกติ ยังไม่มองตามใบหน้าหรือวัตถุ ไม่ตอบสนองต่อเสียงที่ได้ยิน พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

6 เดือน ไม่พลิกคว่ำหงาย อาจมีปัญหาระบบประสาทหรือกล้ามเนื้อ ยังนั่งโดยช่วยพยุงไม่ได้ ท่านั่งเป็นรูป “W” ขาเหยียดเกร็งเวลาคืบคลาน อาจเกิดปัญหากล้ามเนื้อเกร็งผิดปกติ ไม่คว้าของ อาจมีความผิดปกติในการมองเห็น กล้ามเนื้อ หรือการรับ (เรียน) รู้ พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

ท่านั่งเป็นรูป “W”

6 เดือน ยังไม่หันหาเสียง ยังไม่ส่งเสียง อาจมีความผิดปกติในการได้ยิน ไม่ยิ้ม หัวเราะ อาจมีปัญหาการมองเห็น ความผูกพัน มารดาซึมเศร้า (Consider Child Abuse or child neglect in severe cases) ยังไม่มีการกลัวคนแปลกหน้า อาจเป็นจากมีผู้เลี้ยงดูหลายคน ไม่มีความผูกพันใกล้ชิด พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

9 เดือน ยังนั่งเองไม่ได้ ยังเกาะยืนไม่ได้ ยังไม่สามารถใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วอื่นในการหยิบของได้ ยังไม่เปลี่ยนมือถือของ อาจมีปัญหาทางสมอง ยังไม่หันหาเสียงตามทิศทางของเสียง อาจมีความผิดปกติในการได้ยินข้างใดข้างหนึ่ง ยังไม่เป่าปากเล่นน้ำลายอาจมีความผิดปกติในการได้ยิน พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

12 เดือน ยังเหนี่ยวตัวขึ้น เกาะยืนไม่ได้ ใช้มือข้างเดียวตลอดเวลา อาจมีปัญหาแขนอีกข้างอ่อนแรง เรียกชื่อแล้วยังไม่หันหาเสียงเรียก ยังไม่แสดงท่าทางโต้ตอบ เช่น โบกมือ สั่นศีรษะ พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

18 เดือน ยังเดินเองไม่ได้ ยังไม่ชี้บอกสิ่งที่ต้องการ หรือไม่ชี้ชวนให้ผู้อื่นดูสิ่งที่สนใจ (protodeclarative pointing) ไม่มีการแสดงท่าทางของการโชว์หรืออวดของ ทำตามคำสั่งง่ายๆ ไม่ได้อาจมีปัญหาการสื่อสารหรือสังคม ยังไม่พูดคำเดี่ยวที่มีความหมาย ไม่สามารถเล่นสมมติได้ ไม่มีความสนใจร่วม หรือชวนคนรอบข้างเล่นด้วย อาจมีปัญหาการพัฒนาทางสังคม เช่น เด็กออทิสติก พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

2 ปี 30 เดือน ยังเดินถอยหลังและเตะลูกบอลไม่ได้ ยังไม่พูด 2 คำที่มีความหมายต่อกัน (ไม่นับการพูดตาม) 30 เดือน ยังกระโดด 2 เท้า ไม่ได้ ยังพูดเป็นวลีสั้นๆไม่ได้ พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

3 ปี ยังขึ้นบันไดสลับเท้าไม่ได้ ยังไม่พูดเป็นประโยคสั้นๆ ภาษาที่เด็กพูด คนอื่นฟังไม่เข้าใจเป็นส่วนใหญ่ พูดตามโดยไม่มีความหมาย อาจมีปัญหาการเรียนรู้ การสื่อสารและสังคม พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

4 ปี ยังลงบันไดสลับเท้าไม่ได้ ไม่สามารถเล่าเรื่องสั้นๆให้คนอื่นฟังเข้าใจได้ ไม่รู้จักรอคอย เล่นร่วมกับคนอื่นไม่ได้ เล่นรุนแรงผิดปกติ อยู่ไม่นิ่ง อาจมีปัญหาทางอารมณ์ หรือพฤติกรรมจากการเลี้ยงดู หรือมีภาวะสมาธิสั้น ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองง่ายๆได้ เช่น ใส่เสื้อผ้า ล้างมือ ควบคุมการถ่ายอุจจาระได้ อาจมีปัญหาการเรียนรู้ การเลี้ยงดู หรือสติปัญญาบกพร่อง พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

5 ปี ยังกระโดดขาเดียวไม่ได้ ยังโยนและรับลูกบอลไม่คล่อง ยังทำตามคำสั่ง 2 ขั้นตอนไม่ได้ พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

ก่อนอายุ 18 เดือน ทุกอายุ ใช้มือข้างเดียวตลอดเวลา อาจมีปัญหาแขนอีกข้างอ่อนแรง ทุกอายุ ไม่จ้องหน้าสบตา ไม่ตอบสนองต่อเสียง ทักษะด้านต่างๆถดถอย พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

บรรณานุกรม พัฒนาการปกติ, พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคม, การคัดกรองพัฒนาการ ตำราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก เล่ม 3 การดูแลเด็กสุขภาพดี 2556. Wilks T, Gerber RJ, Erdie-Lalena C. Developmental milestones : cognitive development. Pediatr Rev 2010;31 : 364-74. Gerber RJ, Wilks T, Erdie-Lalena C. Developmental milestones : motor development. Pediatr Rev 2010;31 : 267-77. พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

การคัดกรองภาวะออทิสติกด้วยแบบคัดกรองโรคในกลุ่มพัฒนาการผิดปกติอย่างรอบด้าน สำหรับเด็กอายุ 1-18 ปี Pervasive Developmental Disorder Screening Questionnaire (PDDSQ)

DSM V Diagnostic Criteria for Autism Spectrum Disorder A. บกพร่องด้านการสื่อสารและ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม B. มีพฤติกรรม/ความสนใจ/กิจกรรมซ้ำๆ/ จำกัด C. มีอาการตั้งแต่ในวัยเด็กหรือช่วงต้นของ พัฒนาการ D. ส่งผลต่อสังคม การงาน หน้าที่สำคัญ E. ไม่ใช่ภาวะบกพร่องทางเชาวน์ปัญญา (ID)หรือโรค Global development delay(GDD) พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

DSM V Diagnostic Criteria for Autism Spectrum Disorder 1. บกพร่องในการแลกเปลี่ยนทักษะด้าน อารมณ์และสังคม เริ่มต้นสนทนาไม่เป็น ไม่สนทนาโต้ตอบ ลดความสนใจ/อารมณ์ร่วม ไม่สามารถเริ่มต้น/ตอบสนองต่อปฏิสัมพันธ์ ทางสังคม พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

DSM V Diagnostic Criteria for Autism Spectrum Disorder 2. บกพร่องด้านการสื่อสารที่ใช้เพื่อ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การใช้ภาษาท่าทางที่ไม่เข้ากับภาษา พูด มีการสบตาหรือสื่อภาษาท่าทางที่ ผิดปกติ ไม่ค่อยใช้หรือไม่เข้าใจภาษาท่าทาง ขาดการแสดงสีหน้าและการสื่อสารที่ ไม่ใช่ภาษาพูด พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

DSM V Diagnostic Criteria for Autism Spectrum Disorder 3.บกพร่องในการพัฒนา รักษาและ เข้าใจความสัมพันธ์ ปรับตัวยาก ไม่เล่นสมมุติ ไม่สนใจเพื่อน/ไม่คบเพื่อน พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

DSM V Diagnostic Criteria for Autism Spectrum Disorder B. มีพฤติกรรม/ความสนใจ/กิจกรรมซ้ำๆ/ จำกัด อย่างน้อย 2 ข้อ จากประวัติ หรือแสดงอาการ 1. มีพฤติกรรมซ้ำๆ : การเคลื่อนไหว/ สิ่งของ/ภาษาพูด (เรียงของเล่น ติด ของ พูดทวน มีวลีของตนเอง) 2.ซ้ำซาก/ไม่ยืดหยุ่น/เปลี่ยนแปลงยาก (อาหาร การเดินทาง วิธีคิด กิจวัตร) พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

DSM V Diagnostic Criteria for Autism Spectrum Disorder B.มีพฤติกรรม/ความสนใจ/กิจกรรมซ้ำๆ/ จำกัด อย่างน้อย 2 ข้อ จากประวัติ หรือแสดงอาการ 3. ความสนใจจำกัด (ชอบของแปลก) 4. มีประสาทสัมผัสที่ไวมากเกินไปหรือ น้อยเกินไปต่อสิ่งเร้า(ความเจ็บปวด อุณหภูมิ เสียง ผิวสัมผัส ชอบดมหรือ สัมผัสวัตถุ หรือชอบมองแสงหรือการ เคลื่อนไหว) พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

การวินิจฉัย ASD คัดกรอง PDDSQ แบบคัดกรองโรคออทิสติกในเด็กอายุ 1-5 ปี แบบคัดกรองโรคออทิสติกในเด็กอายุ 1-5 ปี KUS-SI ประเมินพัฒนาการ,สติปัญญา วินิจฉัย ADOS พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช กุมารแพทย์พัฒนาการและพฤติกรรม สถาบันราชานุกูล 5 /12/2016

PDDSQ ใช้เพื่อค้นหา ASD อายุ 1-18 ปี โดยผู้ปกครองหรือผู้ใกล้ชิดเด็กเป็น ผู้ประเมิน พัฒนาจากแบบคัดกรอง ASD ต่างๆ ได้แก่ - CHAT : Checklist for Autism in Toddlers - CARS : Childhood Autism Rating Scale ASQ : Autism Screening Questionnaire ASSQ : Autism Spectrum Screening Questionnaire PDDST : Pervasive Developmental Disorders Screening Test SRS : Social Responsiveness Scale พัฒนาโดยโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ร่วมกับ นพ. ชาญวิทย์ พรนภดล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

PDDSQ แบ่งเป็น 2 ช่วงอายุ แต่ละฉบับประกอบด้วยข้อคำถาม 25 ข้อ วัดความผิดปกติ 3 ด้าน คือ พัฒนาการทางสังคม การสื่อความหมาย และพฤติกรรมซ้ำซาก/สนใจจำกัด/ปรับตัวยาก พญ.รินสุข องอาจสกุลมั่น จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ว.สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2559; 24(2): 69-80

PDDSQ : การให้คะแนน 1. ผู้ตอบเลือกคำตอบที่ใกล้เคียงพฤติกรรม ของเด็กมากที่สุด 2. คำตอบมี 2 ตัวเลือก คือ ใช่/ทำบ่อยๆ และ ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ 3. การให้คะแนน - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ ทำบ่อยๆ - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ พญ.รินสุข องอาจสกุลมั่น จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ว.สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2559; 24(2): 69-80

PDDSQ : การให้คะแนน 4. PDDSQ 1-4 ปี ข้อ 1-5, 11-15, 21-25 ต้องกลับค่าคะแนน ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำ บ่อยๆ ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ ค่อยทำ 5. คะแนนเต็มทั้งฉบับ 25 คะแนน พญ.รินสุข องอาจสกุลมั่น จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ว.สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2559; 24(2): 69-80

PDDSQ : การแปลผล PPDSQ 1-4 ปี ถ้าได้ 7 คะแนนขึ้นไป ถือว่า เสี่ยงที่จะเป็น ASD PPDSQ 4-18 ปี ถ้าได้ 13 คะแนนขึ้นไป ถือว่า เสี่ยงที่จะเป็น ASD พญ.รินสุข องอาจสกุลมั่น จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ว.สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2559; 24(2): 69-80

ตอบสนอง เช่น หันมามองทันทีที่คุณเรียกชื่อเขา แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ช่วงอายุ 1-4 ปี (12 เดือน-47 เดือน) ฉบับย่อ ตอบสนอง เช่น หันมามองทันทีที่คุณเรียกชื่อเขา เล่นสมมุติเป็น เช่น ทำท่าป้อนอาหารให้ตุ๊กตา , เล่นขายของ หรือสมมุติในสิ่งอื่นๆ ใช้นิ้วของเขา ชี้ ไปที่สิ่งของเพื่อแสดงว่าเขาสนใจหรือต้องการของสิ่งนั้น สนใจ อยากเข้าไปเล่นกับเด็กคนอื่น เวลาไปโรงเรียนหรืออยู่ในสนามเด็กเล่น ทำท่าทางเลียนแบบผู้ใหญ่ เช่น แต่งหน้า หวีผม โกนหนวด เตรียมตัวไปทำงาน การให้คะแนน - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ พญ.รินสุข องอาจสกุลมั่น จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ว.สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2559; 24(2): 69-80

6. ชอบที่จะเล่นคนเดียว หรืออยู่คนเดียวตามลำพัง แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ช่วงอายุ 1-4 ปี (12 เดือน-47 เดือน) ฉบับย่อ 6. ชอบที่จะเล่นคนเดียว หรืออยู่คนเดียวตามลำพัง 7. เป็นเด็กหน้าเฉย ไม่ค่อยแสดงอารมณ์ 8. ทำท่าทางเหมือนไม่ได้ฟังคุณเวลาคุณพูดกับเขา 9. สนใจที่จะเล่นกับเด็กคนอื่นน้อยมาก 10. ชอบทำตาลอย หรือจ้องมองโดยไร้จุดหมาย การให้คะแนน - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ พญ.รินสุข องอาจสกุลมั่น จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ว.สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2559; 24(2): 69-80

แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ช่วงอายุ 1-4 ปี (12 เดือน-47 เดือน)ฉบับย่อ 11. รู้จักแบ่งขนม หรือของเล่นให้เด็กคนอื่น 12. พยักหน้าหรือส่ายหน้า เพื่อบอกกับคุณว่า เอาหรือไม่เอา 13. พยายามทำให้คุณสนใจในสิ่งที่เขากำลังทำอยู่ โดยการเรียกคุณ หรือยื่นของสิ่งนั้นให้คุณดู 14. ตอบสนองอย่างเหมาะสม เช่น มองหน้า , สบตา , ยิ้ม หรือยื่นของเล่นให้เวลามีเด็กอื่นเดินเข้ามาหา 15. เลียนแบบท่าทางคุณ เช่น แลบลิ้นตาม เวลาที่คุณแลบลิ้นใส่เขา การให้คะแนน - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ พญ.รินสุข องอาจสกุลมั่น จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ว.สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2559; 24(2): 69-80

16. ยังบอกไม่ได้ว่าต้องการอะไร ไม่ว่าจะด้วยการพูดหรือชี้ แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ช่วงอายุ 1-4 ปี (12 เดือน-47 เดือน) ฉบับย่อ 16. ยังบอกไม่ได้ว่าต้องการอะไร ไม่ว่าจะด้วยการพูดหรือชี้ 17. ทำท่าทางแปลกๆ ซ้ำๆ เช่น โยกตัว , เดินเขย่งเท้า , สะบัดมือ 18. จับมือคุณไปหยิบของที่เขาอยากได้ โดยไม่มองหน้าคุณ 19. มีความสนใจในของเล่นไม่กี่ชิ้น หรือสิ่งต่าง ๆ ไม่กี่เรื่อง 20. เล่นของเล่นไม่เป็น เช่น มักจะเอามาเคาะ , โยน , ถือไปมา หรือเอาเข้าปาก การให้คะแนน - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ พญ.รินสุข องอาจสกุลมั่น จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ว.สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2559; 24(2): 69-80

21. มองหน้า สบตาคุณ เวลาพูดคุยหรือเล่นกับเขา แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ช่วงอายุ 1-4 ปี (12 เดือน-47 เดือน) ฉบับย่อ 21. มองหน้า สบตาคุณ เวลาพูดคุยหรือเล่นกับเขา 22. ใช้นิ้วชี้ของเขา ชี้ให้คุณมองของบางสิ่งบางอย่างที่อยู่ไกลออกไป 23. ยิ้มให้พ่อแม่ เมื่อเห็นพ่อแม่มาแต่ไกล 24. รู้จักปลอบเด็กคนอื่น เวลาเด็กคนอื่นไม่สบายใจ หรือได้รับบาดเจ็บ 25. มองสิ่งของที่คุณกำลังมองอยู่ หรือสนใจในสิ่งเดียวกันกับสิ่งที่คุณกำลัง สนใจ การให้คะแนน - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ พญ.รินสุข องอาจสกุลมั่น จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ว.สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2559; 24(2): 69-80

แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ช่วงอายุ 4-18 ปี ชอบเก็บตัว หรืออยู่คนเดียวตามลำพัง เดินผ่าตรงกลาง ที่คนสองคนกำลังคุยอยู่ เข้ากับเพื่อนได้ยาก แม้ว่าเขาจะพยายามอย่างเต็มที่ ชอบจำแต่สิ่งไร้สาระ หรือสิ่งที่ไม่มีประโยชน์ ใช้ภาษาที่ไม่ค่อยเหมาะสมกับกาละเทศะหรือผู้ฟัง การให้คะแนน - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ พัฒนาโดยโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ร่วมกับ นพ. ชาญวิทย์ พรนภดล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ช่วงอายุ 4-18 ปี 6. มักถูกเด็กคนอื่นมองว่าเป็น “ตัวตลก หรือ ตัวประหลาด” 7. เล่นกับเด็กคนอื่นได้ แต่ต้องเล่นเฉพาะสิ่งที่ตัวเขาเองอยากเล่นเท่านั้น 8. ต่อต้าน ปรับตัวไม่ได้ เวลาที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่ทำอยู่เป็นประจำ 9. งุ่มง่าม , เงอะงะ , ซุ่มซ่าม มากกว่าเด็กคนอื่นในวัยเดียวกัน 10. ชอบคิดอะไรซ้ำซาก , วนเวียน หรือทำอะไรซ้ำๆ หลาย ๆ ครั้ง การให้คะแนน - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ พัฒนาโดยโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ร่วมกับ นพ. ชาญวิทย์ พรนภดล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ช่วงอายุ 4-18 ปี 11.ไม่ยอมให้มีการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่คุ้นเคย 12.คุณเคยรู้สึกว่าลูกพูดช้า หรือเคยกังวลว่าทำไมลูกยังไม่พูดเสียที 13.ไม่ค่อยรับรู้ว่าคนอื่นกำลังคิดหรือรู้สึกอย่างไร 14.มีความสุขเวลาที่ได้อยู่คนเดียวมากกว่าเวลาอยู่เป็นกลุ่มกับคนอื่น 15.ตรงไปตรงมา ไม่รู้จักยืดหยุ่น การให้คะแนน - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ พัฒนาโดยโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ร่วมกับ นพ. ชาญวิทย์ พรนภดล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ช่วงอายุ 4-18 ปี 16.สนใจในสิ่งต่าง ๆ เพียงไม่กี่อย่าง 17. ไม่ค่อยฟังเพื่อน ถ้าเพื่อนไม่ได้พูดในสิ่งที่เขาสนใจ การให้คะแนน - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ 18. มีอารมณ์ขัน สามารถเข้าใจเรื่องตลกได้ 19.รู้จักปลอบเด็กคนอื่น เวลาเด็กคนอื่นไม่สบายใจ หรือได้รับบาดเจ็บ 20. รู้จักสงสาร หรือเห็นอกเห็นใจผู้อื่น การให้คะแนน - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ พัฒนาโดยโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ร่วมกับ นพ. ชาญวิทย์ พรนภดล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ช่วงอายุ 4-18 ปี 21. ชอบเล่นเป็นกลุ่มกับเพื่อน 22. มองหน้า สบตาทุกครั้งเวลาพูดคุย 23. สามารถสังเกต เข้าใจสีหน้า และอารมณ์ของคนรอบข้าง 24. มีเพื่อนสนิท หรือเพื่อนที่เล่นด้วยกันบ่อยๆ 25. สามารถบอกอารมณ์หรือความรู้สึกของตัวเองให้คนอื่นรู้ได้ การให้คะแนน - ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ - ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ พัฒนาโดยโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป์ ร่วมกับ นพ. ชาญวิทย์ พรนภดล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

สมมติว่าผู้ปกครองตอบแบบประเมิน PDDSQ เด็กอายุ 1-4 ปี และ อายุ 4-18 ปี โดยข้อที่เป็นคู่ ตอบว่า “ใช่/ทำบ่อยๆ” ข้อที่เป็นคี่ตอบว่า “ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ” ผลให้คะแนนเด็กอายุ 1-4 ปี รายนี้ =………..… คะแนน ถือว่าเสี่ยงที่จะเป็น ASD หรือไม่ ผลให้คะแนนเด็กอายุ 4-18 ปี รายนี้ =………… คะแนน

ความร่วมมือระดับชาติเพื่อคนรุ่นต่อไปยังมีความจำเป็น

Thank you for your attention