งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)
การวิเคราะห์ชุมชน ฟาริดา ลังกาฟ้า ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) สุรางค์ จันทร์แย้ม มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)

2 “ชุมชน” คืออะไร ในความหมายของคุณ

3 การวิเคราะห์ชุมชน มีความสำคัญ และประโยชน์อย่างไร

4 วิเคราะห์ ไปทำไม ? ประเด็นยุทธศาสตร์ แผนงาน 3-5 ปี เป้าหมายยุทธศาสตร์
ปัจจัยเอื้อ/ข้อจำกัดการดำเนินงาน เป้าหมายยุทธศาสตร์ อัตราการติดเชื้อ สถานการณ์/สภาพปัญหา ประเด็นยุทธศาสตร์ 3-5 ปี กลุ่ม เป้าหมาย ผู้เกี่ยวข้อง รัฐ/เอกชน แผนงาน 3-5 ปี กำหนดวัตถุประสงค์ วิเคราะห์ ไปทำไม ?

5 การสังเคราะห์ การวางแผน
การวิเคราะห์ชุมชน การสังเคราะห์ การวางแผน สถานการณ์ปัญหา/ สภาพแวดล้อม กลุ่มประชากรเป้าหมาย เครือข่าย/หน่วยบริการ ปัจจัยเอื้อ/ข้อจำกัด ศักยภาพพื้นที่ วางเป้าหมาย จัดลำดับความสำคัญ เน้นพื้นที่/ความเร่งด่วน กำหนดวัตถุประสงค์ เน้นการเข้าถึง/ครอบคลุม จัดบริการตามความจำเป็น เน้นคุณภาพ/ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลการดำเนินงาน

6 วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ชุมชน
ศึกษา ทำความเข้าใจสถานการณ์ ปัญหา องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการป้องกัน สังเคราะห์ความรู้ ข้อมูลเพื่อใช้พัฒนา วางแผนการดำเนินงาน องค์กร และหน่วยงานในพื้นที่มีส่วนร่วมในการจัดการแก้ไขปัญหา และการดำเนินงาน

7 YES or NO May be

8 สติ๊กเกอร์สี ข้อ ใช่ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ 1. X 2. 3. 4. 5. 6. 7.

9 1. คุณทราบว่าในจังหวัด หรือพื้นที่ของคุณ มีประมาณการจำนวนประชากรชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสองกี่คน สำหรับท่านที่ทราบ ลองระบุจำนวนประมาณการให้ด้วยค่ะ

10 2. คุณทราบหรือไม่ว่ากลุ่ม MSM/TG ในพื้นที่ เป็นกลุ่มประเภทใดบ้าง อยู่ในช่วงอายุเท่าไหร่

11 คุณทราบว่ากลุ่มเป้าหมาย MSM/TG พบปะ หรือรวมตัวกันที่ไหนบ้าง
3. คุณทราบว่ากลุ่มเป้าหมาย MSM/TG พบปะ หรือรวมตัวกันที่ไหนบ้าง

12 4. คุณทราบว่าอัตราการป้องกัน โดยการใช้ถุงยางอนามัย และสารหล่อลื่นในพื้นที่เป็นอย่างไร

13 ตรวจเอชไอวีที่ไหนบ้าง และมีจำนวนเท่าไหร่
5. คุณทราบว่ามี MSM/TG ไปใช้บริการ ตรวจเอชไอวีที่ไหนบ้าง และมีจำนวนเท่าไหร่

14 โดยเฉพาะของกลุ่ม MSM/TG ในพื้นที่
6. คุณทราบอัตราการติดเชื้อเอชไอวี โดยเฉพาะของกลุ่ม MSM/TG ในพื้นที่

15 7. คุณสามารถระบุได้ว่ามีสถานบริการสุขภาพใดบ้างในพื้นที่ที่สามารถให้บริการตรวจเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะให้แก่ MSM/TG (ระบุได้ว่ามี หรือไม่มี ที่ไหนบ้าง)

16 บ้างในเครือข่ายด้านการป้องกัน และหน่วยงานนั้นๆทำงานเกี่ยวกับอะไรบ้าง
8. คุณสามารถระบุได้ว่ามีหน่วยงานใด หรือองค์กรใด บ้างในเครือข่ายด้านการป้องกัน และหน่วยงานนั้นๆทำงานเกี่ยวกับอะไรบ้าง

17 9. คุณทราบว่าในพื้นที่มีหน่วยงานใดที่สามารถเป็นแหล่งทุนในการดำเนินงานด้านการป้องกันเอชไอวีได้ และให้ทุนเรื่องอะไรบ้าง

18 10. คุณทราบว่าจะใช้วิธีการอะไรในการกระตุ้นให้ กลุ่มเป้าหมาย MSM/TG ในการมารับบริการตรวจเอชไอวี

19 ว้าว!!! ผลออกมาเป็นอย่างไรบ้าง
ว้าว!!! ผลออกมาเป็นอย่างไรบ้าง

20 ข้อมูลที่จำเป็นในการวิเคราะห์ชุมชน
ข้อมูลด้านประชากร/ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน จุดรวมตัว ช่วงเวลา/ปฏิทิน/ตารางกิจกรรม ตัวแม่ บริบท/ความต้องการเฉพาะ

21 ข้อมูลที่จำเป็นในการวิเคราะห์ชุมชน
บริบท/ความต้องการเฉพาะ Social Network/ Sexual Network ความเชื่อเฉพาะกลุ่ม ความสนใจ ความต้องการรับบริการสุขภาพ พฤติกรรมเสี่ยง และพฤติกรรมการป้องกันของแต่ละกลุ่ม

22 ข้อมูลที่จำเป็นในการวิเคราะห์ชุมชน
ข้อมูลด้านระบาดวิทยา อัตราด้านสถิติ จำนวนผู้รับบริการตรวจเอชไอวีที่เป็น MSM/TG อัตราการติดเชื้อHIV ในกลุ่ม MSM/TG อัตราการติดเชื้อ และการรักษา STIs

23 ข้อมูลหน่วยบริการ หน่วยบริการ VCT รวมถึงหน่วยบริการเฉพาะสำหรับ MSM/TG
หน่วยบริการที่สามารถตรวจคัดกรอง STIs ได้ 4 ช่องทาง หน่วยบริการที่สามารถตรวจ CD4 ได้ หน่วยบริการที่สามารถให้ TB Screening ได้ องค์กรที่ทำหน้าที่ช่วยย้ายสิทธิฯ

24 ข้อมูลเครือข่าย และทรัพยากร
เครือข่ายในการทำงานด้าน MSM/TG แหล่งทุนในพื้นที่ อบท./อบต./เทศบาล ฯ วิทยากร/ ผู้นำกระบวนการ/หน่วยงานสนับสนุนวิชาการในพื้นที่

25 กระบวนการวิเคราะห์ชุมชน
เครื่องมือ และ กระบวนการวิเคราะห์ชุมชน

26 ตัวอย่างแลกเปลี่ยนจากพื้นที่

27 เครื่องมือทั่วไปเพื่อรวบรวมข้อมูล
การทบทวนข้อมูลเดิม (Desk Review) สำรวจ/สังเกตุ/ สัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม (Focus group) แบบสอบถาม การประชุมกลุ่ม การทำแผนที่ชุมชน (Community/Target Mapping)

28 การทำแผนที่กลุ่มเป้าหมาย (Target Mapping)

29 ประโยชน์ และความสำคัญของการจัดทำแผนที่
มีฐานข้อมูลประชากรด้านจำนวน/ พื้นที่ เป็นฐานข้อมูลขององค์กร/ หน่วยงาน เพื่อใช้ในการวางแผน/ ออกแบบกิจกรรม เพื่อใช้กำหนดกลยุทธ์ และเป้าหมายในการเข้าถึง เพื่อใช้ในการวางแผนด้านบทบาท/พื้นที่การทำงาน และกำหนดเวลาและการเดินทาง เพื่อใช้ประเมินความครอบคลุมการทำงาน ใช้ข้อมูลในการทำงานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อประเมินทรัพยากรในการทำงานฯ

30 ตัวอย่างการทำแผนที่ แผนที่สำรวจแหล่งสถานบริการ เขตคลองเตย

31 FSWs Walking Street

32 ตัวอย่าง Mapping India

33

34 แหล่งข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ชุมชน
แหล่งข้อมูลบุคคล/ กลุ่มบุคคล เจ้าหน้าที่ /หน่วยงานด้านสาธารณสุขและที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน NGOs / CBOs ในพื้นที่ ตัวเป้าหมายเอง หมายถึง MSM และ TG /ผู้ประสานงานพื้นที่ หรือตัวแม่(ผู้นำตามธรรมชาติ) บุคคลที่เกี่ยวข้องที่มีข้อมูล อาทิ มอเตอร์ไซค์รับจ้าง แม่ค้ารถเข็น พนักงานในสถานบันเทิงฯ

35 แหล่งข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ชุมชน
แหล่งข้อมูลเอกสาร/สื่อ เอกสารจากหน่วยงานราชการ อาทิ บันทึก สถิติต่างๆ เอกสารบันทึกจากหน่วยบริการต่างๆทั้งรัฐ และเอกชน สื่อ/ เอกสาร อาทิ Magazine แนะนำการท่องเที่ยว แผนที่แสดงสถานบันเทิง/บริการในพื้นที่ฯ ข้อมูลจากสื่ออิเล็กโทรนิค อาทิ ข้อมูลจาก GIS/ GPS หรือ Google map ฯ

36 กระบวนการวิเคราะห์ชุมชน และการวางแผน
ทบทวนฐานข้อมูล และจำแนกข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้อง และความสัมพันธ์ของข้อมูล วิเคราะห์และประมวลผลจากข้อมูล นำผลจากการวิเคราะห์ไปสังเคราะห์เพื่อวางเป้าหมาย/จัดลำดับความสำคัญฯ นำผลการสังเคราะห์ไปใช้วางแผนด้านกลยุทธ์ จัดชุดบริการ การระดมชุมชน การจัดการทรัพยากร เน้นการเข้าถึง ความครอบคลุม ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน

37 การสังเคราะห์ การวางแผน
การวิเคราะห์ชุมชน การสังเคราะห์ การวางแผน สถานการณ์ปัญหา/ สภาพแวดล้อม กลุ่มประชากรเป้าหมาย เครือข่าย/หน่วยบริการ ปัจจัยเอื้อ/ข้อจำกัด ศักยภาพพื้นที่ วางเป้าหมาย จัดลำดับความสำคัญ เน้นพื้นที่/ความเร่งด่วน กำหนดวัตถุประสงค์ เน้นการเข้าถึง/ครอบคลุม จัดบริการตามความจำเป็น เน้นคุณภาพ/ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลการดำเนินงาน

38 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google