งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
แนวทางการปฏิบัติงานด้านรับรองมาตรฐาน การปศุสัตว์ในปี ๒๕๕๙ และเป้าหมายในการปฏิบัติงานภายในพื้นที่ปศุสัตว์เขต ๘ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.

2 กิจกรรมการปฏิบัติงาน ตรวจสอบ กำกับดูแล ดังนี้
ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ การรับรองสินค้าปศุสัตว์ (เนื้อและไข่อนามัย) การรับรอง GMP โรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ ศูนย์รวบรวมไข่ ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ

3 งานรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์

4 ภารกิจรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์เขต สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด กำหนดแผนการฝึกอบรมผู้ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ม และสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม จัดฝึกอบรมผู้ประกอบการและออกใบประกาศนียบัตรให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม รับสมัคร/รับคำร้องจากผู้ประกอบการฟาร์มเลี้ยงสัตว์ พร้อมหลักฐาน จัดทำ/จัดสรรงบประมาณกิจกรรมด้านฝึกอบรม พิจารณาให้การรับรองมาตรฐานฟาร์ม ตรวจประเมินฟาร์ม และส่งหลักฐานการตรวจประเมินให้สำนักปศุสัตว์เขตพิจารณาให้การรับรองคงไว้หรือด้วยอายุมาตรฐานฟาร์ม กำหนดแผนการปฏิบัติงาน ออกใบรับรองมาตรฐานฟาร์มให้แก่ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ จัดทำ/จัดสรรงบประมาณตามแผนการปฏิบัติงาน ตรวจสอบ กำกับ ดูแล ระบบการปฏิบัติงานของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด และฟาร์มที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ตรวจสอบ กำกับ ดูแล ระบบการปฏิบัติงานของฟาร์มที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน

5 งานตามภารกิจรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์เขต สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด นิเทศงานและปฏิบัติงานตามแผน สอบสวนฟาร์มมาตรฐาน กรณีผู้ประกอบการไม่ปฏิบัติตามระเบียบ รวบรวมผลการปฏิบัติงาน สอบสวนสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม กรณีไม่ปฏิบัติตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูลและติดตามประเมินผล เก็บรักษาทะเบียนประวัติฟาร์มที่ได้รับการรับรองมาตรฐานฟาร์ม และรายงานผลการปฏิบัติงานด้านมาตรฐานฟาร์มให้สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ทราบ เป็นประจำทุกเดือน เก็บรักษาทะเบียนประวัติฟาร์มที่ได้รับการรับรองมาตรฐานฟาร์ม และรายงานผลการปฏิบัติงานด้านมาตรฐานฟาร์มให้สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์และสำนักงานปศุสัตว์เขต ทราบ เป็นประจำทุกเดือน

6 ผลการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2558 ของสำนักงานปศุสัตว์เขต8
ผลการปฏิบัติงานปีงบประมาณ ของสำนักงานปศุสัตว์เขต8 กิจกรรม เป้าหมาย ผลการปฏิบัติงาน ร้อยละ กิจกรรมหลัก ตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ 1. ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ม 95 312 328.42 2. ตรวจติดตามมาตรฐานฟาร์ม 897 1,140 127 3. ตรวจต่ออายุมาตรฐานฟาร์ม 323 194 60 4. เก็บตัวอย่างอาหารสัตว์/น้ำผึ้งตรวจทางห้องปฏิบัติการ 418 553 132.29 5. สอบสวนสารตกค้างในฟาร์มมาตรฐานกรณีผลวิเคราะห์เป็นบวก (สนง.ปศจ.) 5 6. ตรวจติดตาม กำกับ ดูแลการตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์ม 15 20 133.33 7. สอบสวนสารตกค้างในฟาร์มมาตรฐานกรณีผลวิเคราะห์เป็นบวก (สนง.ปศข.) 1 8.อบรมผู้ประกอบการมาตรฐานฟาร์ม 300 1,104 368 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

7 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

8 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
เป้าหมาย สุราษฎร์ฯ ชุมพร นครศรีฯ ระนอง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรัง พัทลุง รวม ร้อยละ 5. สอบสวนสารตกค้างในฟาร์มมาตรฐานกรณีผลวิเคราะห์เป็นบวก (สนง.ปศจ.) เป้า 5 1 2 ผล 6. ตรวจติดตาม กำกับ ดูแลการตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์ม 133.33 15 20 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

9 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
กิจกรรม เป้าหมาย สุราษฎร์ฯ ชุมพร นครศรีฯ ระนอง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรัง พัทลุง รวม ร้อยละ 7. สอบสวนสารตกค้างในฟาร์มมาตรฐานกรณีผลวิเคราะห์เป็นบวก (สนง.ปศข.) เป้า 1 ผล 8.อบรมผู้ประกอบการมาตรฐานฟาร์ม 368 300 1,104 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

10 สรุปผลการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2558 ในกิจกรรมตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ม
สำนักงานปศุสัตว์เขต 8 จากข้อมูลในกิจกรรมการตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ของสำนักงานปศุสัตว์เขต 8 พบว่า กิจกรรมทุกกิจกรรมเป็นไปตามเป้าหมาย ยกเว้นกิจกรรมตรวจต่ออายุมาตรฐานฟาร์ม และกิจกรรมสอบสวนสารตกค้างในฟาร์ม โดยคิดเป็นร้อยละ 60 และ 0 ตามลำดับ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

11 แนวทางการดำเนินงานปี 2559
กิจกรรมการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ด้านปศุสัตว์ กิจกรรมปศุสัตว์อินทรีย์ 1. ประชุมชี้แจงระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ พ.ศ และคู่มือการปฏิบัติงาน 1. จัดทำระเบียบกรมฯและคู่มือ 2. การขึ้นทะเบียนผู้ตรวจประเมินและกรรมการรับรอง 2. การตรวจรับรอง 3. ปรับปรุงระบบการรายงานผลการปฏิบัติงานและการจัดเก็บข้อมูล 3. การฝึกอบรมผู้ตรวจ

12 แผนการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2559
กิจกรรม เป้าหมายรวม เป้าหมายเขต 8 1. ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ม 695 61 2. ตรวจติดตามมาตรฐานฟาร์ม 12,080 777 3. ตรวจต่ออายุมาตรฐานฟาร์ม 4,136 253 4. เก็บตัวอย่างอาหารสัตว์/น้ำผึ้งตรวจทางห้องปฏิบัติการ 4,814 314 5. ตรวจสอบสุขภาพสัตว์ปีกที่ฟาร์มก่อนส่งโรงฆ่าสัตว์ปีกส่งออก 217,450 12,000 6. ตรวจสอบอาหารสัตว์โดยใช้ชุดทดสอบอย่างง่าย(Screening test) 5,436 300 7. เก็บอาหารสัตว์เพื่อยืนยันผล Screening test 18 8. สอบสวนสารตกค้างในฟาร์มมาตรฐานกรณีผลวิเคราะห์เป็นบวก (สนง.ปศจ.) 9. ตรวจติดตาม กำกับ ดูแลการตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์ม 60 10. สอบสวนสารตกค้างในฟาร์มมาตรฐานกรณีผลวิเคราะห์เป็นบวก (สนง.ปศข.) 10 1 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

13 แผนการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2559
กิจกรรม เป้าหมายรวม เป้าหมายเขต 8 11. จัดอบรมผู้ประกอบการมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ 4,000 230 12. จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพผู้ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ม 130 13. จัดอบรมเพิ่มประสิทธิภาพสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มเลี้ยงสัตว์ 100 14. จัดอบรมสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มเลี้ยงสัตว์ 220 15. ตรวจติดตาม กำกับ ดูแลการรับรองมาตรฐานฟาร์ม 15 16. สอบสวนสารตกค้างในฟาร์มมาตรฐานร่วมกับสนง.ปศจ. และสนง.ปศข. 5 17. ตรวจวิเคราะห์อาหารสัตว์-น้ำผึ้งจากฟาร์มมาตรฐาน 4,814 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

14 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
กิจกรรม ปศข.8 สุราษฎร์ฯ ชุมพร นครศรีฯ ระนอง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรัง พัทลุง 1. ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ม 61 10 1 15 3 9 2 - 20 โคเนื้อ สุกร 5 แพะเนื้อ ไก่เนื้อ 35 ไก่ไข่ 2. ตรวจติดตามมาตรฐานฟาร์ม 777 124 207 12 143 55 100 101 153 25 4 41 44 แพะนม 520 117 144 90 29 7 65 58 49 14 นกกระทา ผึ้ง ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

15 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
กิจกรรม ปศข.8 สุราษฎร์ฯ ชุมพร นครศรีฯ ระนอง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรัง พัทลุง 3. ตรวจต่ออายุมาตรฐานฟาร์ม 253 39 - 79 20 58 9 6 42 สุกร 8 28 1 แพะเนื้อ 4 2 ไก่เนื้อ 177 65 23 5 ไก่ไข่ 11 7 นกกระทา 4. เก็บตัวอย่างอาหารสัตว์/น้ำผึ้งตรวจทางห้องปฏิบัติการ 314 49 94 3 29 60 62 4.1 จากฟาร์มที่ตรวจรับรอง 61 10 15 อาหารสัตว์ปีก 38 อาหารสัตว์อื่นๆ 4.2 จากฟาร์มที่ตรวจต่ออายุ 189 67 30 22 64 12 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

16 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
กิจกรรม ปศข.8 สุราษฎร์ฯ ชุมพร นครศรีฯ ระนอง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรัง พัทลุง 5. ตรวจสอบสุขภาพสัตว์ปีกจากฟาร์มก่อนเข้าโรงฆ่าเพื่อการส่งออก 1,000 - 2,400 600 200 7,200 6.ตรวจสอบอาหารสัตว์โดยใช้ชุดทดสอบอย่างง่าย(Screening test) 25 60 15 5 180 7. เก็บอาหารสัตว์เพื่อยืนยันผล Screening test 8. สอบสวนสารตกค้างในฟาร์มมาตรฐานกรณีผลวิเคราะห์เป็นบวก (สนง.ปศจ.) 9. ตรวจติดตาม กำกับ ดูแลการตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์ม 10. สอบสวนสารตกค้างในฟาร์มมาตรฐานกรณีผลวิเคราะห์เป็นบวก (สนง.ปศข.) 1 11.อบรมผู้ประกอบการมาตรฐานฟาร์ม 230 สุกร แพะเนื้อ 10 ไก่เนื้อ 110 ไก่ไข่ 50 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

17 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์
ปัญหาและอุปสรรค ปัญหา-อุปสรรค แนวทางแก้ไข 1. การจัดเก็บข้อมูลฟาร์มมาตรฐาน ไม่เป็นระบบและไม่เป็นปัจจุบัน 1. สพส.กำลังจัดทำระบบการรายงานและจัดเก็บข้อมูลใหม่ ซึ่งเป็นแบบ real time สามารถดึงข้อมูลไปใช้ได้ตลอดเวลา 2. การตรวจประเมิน GAP ในแต่ละพื้นที่ยังมีหลักเกณฑ์แตกต่างกัน 2. มีการประชุมและตกลงกันของคณะกรรมการในแต่ละเขตให้ได้หลักเกณฑ์มาตรฐานกลางขึ้นมา เพื่อนำไปปรับใช้ในแต่ละพื้นที่ 3. บุคลากรในการทำงานในพื้นที่ ไม่เพียงพอ 3. กำหนดคุณสมบัติในการเป็นผู้ตรวจประเมินและกรรมการ ให้เหมาะสมและจัดอบรมหลักสูตรผู้ตรวจประเมิน GAP ให้เพียงพอ 4. สัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มมีไม่เพียงพอ(โดยเฉพาะฟาร์มที่ไม่ใช่สัตว์เศรษฐกิจ) 4. จัดฝึกอบรมสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มเลี้ยงสัตว์ให้เพียงพอโดยเฉพาะนายสัตวแพทย์ของกรมปศุสัตว์ที่อยู่ใน แต่ละพื้นที่ 5. ผู้ประกอบการไม่เห็นความสำคัญและไม่มีแรงจูงใจในการเข้าสู่ระบบการรับรอง GAP (โดยเฉพาะผู้ประกอบการรายย่อย) 5. เจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์สร้างความเข้าใจและแรงจูงใจแก่ผู้ประกอบการ เช่น สนับสนุนสถานที่จำหน่ายและกระจายสินค้า เพิ่มมูลค่าแก่ผลผลิตที่ได้จากมาตรฐานฟาร์ม ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

18 งานรับรองโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ภายในประเทศ

19 สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด
งานตามภารกิจ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์เขต สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ตรวจติดตาม กำกับดูแล การปฏิบัติงานตรวจรับรองระบบ GMP โรงฆ่าสัตว์ ศูนย์รวบรวมไข่ และศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ กับเจ้าหน้าที่ของสำนักงานปศุสัตว์เขต และเจ้าหน้าที่ของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ตรวจรับรองระบบ GMP โรงฆ่าสัตว์ ศูนย์รวบรวมไข่ และศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของสำนักงาน ปศุสัตว์จังหวัด และเจ้าหน้าที่ของสำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ (สพส.) แล้วแต่กรณี ตรวจรับรองระบบ GMP โรงฆ่าสัตว์ ศูนย์รวบรวมไข่ และศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบร่วมกับเจ้าหน้าที่ของสำนักงาน ปศุสัตว์ (ปศข.) และเจ้าหน้าที่ของสำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ (สพส.) แล้วแต่กรณี ตรวจต่ออายุระบบ GMP โรงฆ่าสัตว์ ศูนย์รวบรวมไข่ และศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของสำนักงาน ปศุสัตว์จังหวัด ตรวจต่ออายุระบบ GMP โรงฆ่าสัตว์ ศูนย์รวบรวมไข่ และศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ กับเจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์เขต (ปศข.) ตรวจติดตาม โรงฆ่าสัตว์ ศูนย์รวบรวมไข่ และศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของสำนักงาน ปศุสัตว์จังหวัด ตรวจติดตามระบบ GMP โรงฆ่าสัตว์ ศูนย์รวบรวมไข่ และศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ กับเจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์เขต (ปศข.) รายงานผลการตรวจรับรอง GMP ให้สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

20 ผลการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2558 ของสำนักงานปศุสัตว์เขต 8
กิจกรรม เป้าหมาย ผลการปฏิบัติงาน ร้อยละ กิจกรรมหลัก ตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ 1. โรงฆ่าสัตว์ฯ 1.1 จำนวนผู้ประกอบการโรงฆ่าสัตว์ ที่ได้รับบริการตรวจรับรอง GMP โรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ 4 2 50 1.2 จำนวนโรงฆ่าสัตว์ที่ได้รับบริการตรวจรับรอง GMP โรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ 2. ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ 2.1 จำนวนผู้ประกอบการศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ที่ได้รับบริการตรวจรับรองมาตรฐาน GMP ใหม่ 1 2.2 จำนวนผู้ประกอบการศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ที่ได้รับบริการตรวจติดตามมาตรฐาน GMP 100 2.3 จำนวนผู้ประกอบการศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ที่ได้รับบริการตรวจต่ออายุมาตรฐาน GMP ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

21 ผลการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2558 ของสำนักงานปศุสัตว์เขต 8
กิจกรรม เป้าหมาย ผลการปฏิบัติงาน ร้อยละ กิจกรรมหลัก ตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ 2. ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ (ต่อ) 2.4 จำนวนศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ที่ได้รับบริการตรวจรับรอง มาตรฐาน GMP ใหม่ 1 2.5 จำนวนศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ที่ได้รับบริการตรวจติดตามมาตรฐาน GMP 2 100 2.6 จำนวนศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ที่ได้รับบริการตรวจต่ออายุมาตรฐาน GMP 3. ศูนย์รวบรวมไข่ 3.1 จำนวนผู้ประกอบการศูนย์รวบรวมไข่ ที่ได้รับบริการตรวจรับรองมาตรฐาน GMP ใหม่ 3.2 จำนวนผู้ประกอบการศูนย์รวบรวมไข่ ที่ได้รับบริการตรวจติดตามมาตรฐาน GMP ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

22 ผลการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2558 ของสำนักงานปศุสัตว์เขต 8
กิจกรรม เป้าหมาย ผลการปฏิบัติงาน ร้อยละ กิจกรรมหลัก ตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ 3. ศูนย์รวบรวมไข่ (ต่อ) 3.3 จำนวนศูนย์รวบรวมไข่ ที่ได้รับบริการตรวจรับรองมาตรฐาน GMP ใหม่ 100 3.4 จำนวนศูนย์รวบรวมไข่ ที่ได้รับบริการตรวจติดตามมาตรฐาน GMP 1 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

23 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
กิจกรรม เป้าหมาย สุราษฎร์ฯ ชุมพร นครศรีฯ ระนอง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรัง พัทลุง รวม ร้อยละ ตรวจรับรองระบบ GMP 1. โรงฆ่าสัตว์ฯ 1.1 ตรวจรับรอง เป้า 4 1 - 100 ผล 2 50 1.2 ตรวจต่ออายุ 1.3 ตรวจติดตาม 2. ศูนย์รวบรวมไข่ 2.1 ตรวจรับรอง 2.2 ตรวจต่ออายุ 2.3 ตรวจติดตาม ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

24 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
กิจกรรม เป้าหมาย สุราษฎร์ฯ ชุมพร นครศรีฯ ระนอง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรัง พัทลุง รวม ร้อยละ ตรวจรับรองระบบ GMP (ต่อ) 3. ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ 3.1 ตรวจรับรอง เป้า 1 - 100 ผล 3.2 ตรวจต่ออายุ 3.3 ตรวจติดตาม 2 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

25 สรุปผลการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2558 ในกิจกรรมตรวจรับรองระบบGMP โรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ ศูนย์รวบรวมไข่ และศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ของสำนักงานปศุสัตว์เขต 8 จากข้อมูลในกิจกรรมการตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ของสำนักงานปศุสัตว์เขต 8 พบว่า กิจกรรมการตรวจรับรองระบบ GMP ของศูนย์รวบรวมไข่นั้นครบถ้วนตามเป้าการปฏิบัติงาน แต่ในส่วนของกิจกรรมการตรวจรับรองระบบ GMP โรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ และ ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ นั้นไม่เป็นไม่ตามเป้า โดยคิดเป็นร้อยละ 50 และ 0 ตามลำดับ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

26 เป้าการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2559 กิจกรรมตรวจรับรองระบบ GMP โรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ ศูนย์รวบรวมไข่ และศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ของสำนักงานปศุสัตว์เขต 8 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

27 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
กิจกรรม รวมเป้าเขต 8 สุราษฎร์ฯ ชุมพร นครศรีฯ ระนอง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรัง พัทลุง ตรวจรับรองระบบ GMP 1. โรงฆ่าสัตว์ฯ 1.1 ตรวจรับรอง - 1.2 ตรวจต่ออายุ 1 1.3 ตรวจติดตาม 3 2 2. ศูนย์รวบรวมไข่ 2.1 ตรวจรับรอง 2.2 ตรวจต่ออายุ 2.3 ตรวจติดตาม 3. ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ 3.1 ตรวจรับรอง 3.2 ตรวจต่ออายุ 3.3 ตรวจติดตาม ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

28 แนวทางการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2559
กิจกรรมการตรวจรับรองระบบ GMP โรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ ศูนย์รวบรวมไข่ และศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ จัดทำคู่มือกรมปศุสัตว์ เรื่อง การขอรับและออกใบรับรองการปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงฆ่าสัตว์ การขึ้นทะเบียนผู้ตรวจประเมินและคณะกรรมการรับรอง ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

29 ปัญหาและอุปสรรค ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
มีการเปลี่ยนแปลงฐานข้อมูลของศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบที่ขึ้นทะเบียน โดยมียกเลิกบางศูนย์ออกไปเนื่องจากไม่อยู่ในขอบข่ายการรับรอง GMP ทำให้ภาพรวมของสัดส่วนการรับรองปรับเปลี่ยนไป โรงฆ่าสัตว์ ศูนย์รวบรวมไข่และศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบบางแห่ง อยู่ระหว่างการตรวจให้คำแนะนำในการปรับปรุง (Pre-audit) ทำให้ไม่สามารถดำเนินการตามเป้าหมายการรับรองได้ภายในปี้นี้ ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบบางแห่งอยู่ระหว่างการแก้ไขข้อบกพร่องจากการตรวจต่ออายุ ทำให้ไม่สามารถดำเนินการต่ออายุได้ตามเป้าหมาย ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

30 ขอบคุณครับ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์


ดาวน์โหลด ppt ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google