การสอบสวน ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
Advertisements

การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา น. งานระบาดวิทยาอำเภอท่าอุเทน ได้รับแจ้งจากงานห้องอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลท่าอุเทน มีนักเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
วิธีการหาองค์ประกอบขยะมูลฝอย
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
สถานการณ์ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม. สถานการณ์การออกเทศบัญญัติ / ข้อกำหนด เทศ บัญญัติ / ข้อกำหน ด กาฬสินธุ์ (%) ขอนแก่ น (%) มหาสารคา ม (%) ร้อยเอ็ ด (%)
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ชุมชนปลอดภัย.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
1.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา 19 พฤษภาคม 2552 โรงแรมอมารีแอร์พอร์ต
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
แผนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมปี ๒๕๕๙
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี รอบที่ 2/2558
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสอบสวน ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม

การสอบสวนทางระบาดวิทยา การดำเนินงานหรือกิจกรรมต่างๆ ให้ได้มาซึ่งข้อมูลและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการเกิดโรค ภัย ไข้ เจ็บและเหตุการณ์ผิดปกติที่เป็นปัญหาสาธารณสุข ด้วยวิธีการรวบรวมข้อมูลรายละเอียดในทางระบาดวิทยา สิ่งแวดล้อม และการชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ เพื่อให้ได้ความรู้ที่สามารถอธิบายถึงสาเหตุการเกิดโรค ภัย ไข้ เจ็บและเหตุการณ์ผิดปกตินั้นได้

การสอบสวนด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม กลวิธีในการค้นหาปัจจัย หรือสิ่งคุกคามในสิ่งแวดล้อม อันเป็นสาเหตุของการเกิดโรค ความตายและความพิการ

แนวทางการดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม   แนวทางการดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานสุขาภิบาล และอนามัยสิ่งแวดล้อม 7 กิจกรรมหลัก ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มีความจำเป็นพื้นฐานที่ทำให้มนุษย์มีความสุข ทั้งร่างกาย และจิตใจ     องค์ประกอบการดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม 7 กิจกรรม                     •  การจัดหาน้ำสะอาด                     •  การกำจัดน้ำเสีย                     •  การกำจัดขยะมูลฝอย                     •  การสุขาภิบาลอาหาร                     •  การควบคุมแมลง และสัตว์นำโรค                     •  การสุขาภิบาลที่พักอาศัย และอาคารสถานที่                     •  การกำจัดสิ่งปฏิกูล

ตัวอย่าง โรคอาหารเป็นพิษ

การปรับปรุงด้านสุขาภิบาลในการป้องกันควบคุมโรค กรณีปกติ การดำเนินงานด้านสุขาภิบาล เพื่อป้องกันโรคอาหารเป็นพิษ และโรคติดต่อทางเดินอาหารและน้ำ โดยเน้นเรื่องการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ และการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม

ด้านการสุขาภิบาลอาหาร(Food sanitation) ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาลอย่างสม่ำเสมอ ทุก 2 สัปดาห์ โดยฆ่าเชื้อโรคด้วยน้ำปูนคลอรีน ตรวจสอบสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร โดยเฉพาะร้านจำหน่ายอาหารแผงลอย และโรงครัวของโรงอาหาร อบรมผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย และโรงอาหารในโรงเรียน เฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหารโดยใช้น้ำยาตรวจหาเชื้อโคลิฟอร์มขั้นต้น (SI-2) ในการตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ และมือผู้สัมผัสอาหาร

ด้านการจัดหาน้ำสะอาด ตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา จากระบบการประปาหมู่บ้าน การประปาส่วนภูมิภาค หรือการประปานครหลวง เพื่อเฝ้าระวังให้มีคลอรีนตกค้างในน้ำที่ปลายก๊อก โดยให้อยู่ในช่วง 0.2-0.5 มิลลิกรัม/ลิตร อย่างสม่ำเสมอ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนดื่มน้ำสะอาดปลอดภัย หากพื้นที่ไหนประชาชนใช้น้ำจากแม่น้ำ ลำคลอง หรือแหล่งน้ำผิวดินอื่นๆ ควรแนะนำให้ปรับปรุงคุณภาพน้ำตามความเหมาะสม โดยแกว่งสารส้ม และเติมหยดทิพย์ หรือต้มก่อนใช้เป็นน้ำดื่ม

ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การจัดการสิ่งปฏิกูล โดยประชาชนต้องมีส้วมใช้อย่างถูกต้อง กรณีส้วมสาธารณะต้องพัฒนาให้ได้มาตรฐาน สะอาด เพียงพอ และปลอดภัย ผู้ใช้มีพฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกต้อง การจัดการขยะมูลฝอย การทิ้งควรมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง เพื่อลดปริมาณขยะ ซึ่งใช้หลัก 3 R ได้แก่ 1) Re-use (ยังใช้ได้) คิดก่อนทิ้ง นำมาใช้ซ้ำ 2) Repair (ยังพอแก้ไขได้) สิ่งที่ชำรุดยังพอซ่อม แก้ไข ดัดแปลงได้ 3) Recycle (หมุนเวียนนำกลับมาใช้ใหม่)

ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม (ต่อ) การควบคุมสัตว์และแมลงพาหะนำโรค ได้แก่ หนู แมลงวัน แมลงสาบ หลักการควบคุมมีหลายวิธี ต้องผสมผสานทุกวิธีเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยส่งเสริมให้ประชาชน ดำเนินการดังนี้ การจัดการขยะมูลฝอย การสุขาภิบาลที่พักอาศัย สถานประกอบการ สถานที่ต่างๆ ให้เป็นระเบียบ สะอาด ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรค

การปรับปรุงด้านสุขาภิบาลในการป้องกันควบคุมโรค กรณีเกิดการระบาดของโรค สำรวจสภาพปัญหาด้านสุขาภิบาลในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ได้แก่ ตลาด ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร โรงน้ำแข็ง ฯลฯ พร้อมทั้งขอความร่วมมือไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในระดับอำเภอและตำบล เพื่อร่วมกันดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค ประสาน อปท. ในการปรับปรุงสุขาภิบาลในพื้นที่ที่เกิดการระบาด เช่น ล้างตลาด กำจัดขยะมูลฝอย การจัดการสิ่งปฏิกูล และควบคุมสัตว์และแมลงพาหะนำโรค

กรณีเกิดการระบาดของโรค (ต่อ) ให้คำแนะนำ อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการด้านอาหาร เฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหารและน้ำ โดยตรวจสอบให้มีปริมาณคลอรีนอิสระคงเหลือในน้ำที่ปลายก๊อก 1.0 มิลลิกรัม/ลิตร และสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารที่เสี่ยงที่คาดว่าเป็นสาเหตุของการระบาดของโรคส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชน ในการเลือกซื้ออาหาร การปรุงประกอบอาหาร พฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกต้อง การล้างมือ ก่อนและหลังใช้ส้วม

การเก็บอาหารและน้ำส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ

 เชื้อสาเหตุที่พบได้  Staphylococcus aureus  เชื้อสาเหตุที่พบได้  Staphylococcus aureus  Salmonella spp., Shigella spp.,  Vibrio parahemolyticus, Pathogenic E.coli  Aeromonas, Plesiomonas, Bacillus cerus  เชื้อที่แยกจาก rectal swab มากที่สุดคือ Salmonella spp.  เป็นปัญหาที่พบได้ทุกพื้นที่

แหล่งพบเชื้อก่อโรคอาหารเป็นพิษ  พบได้บ่อยในอาหารปรุงสุก อาหารกล่อง  พบได้ในแหล่งอาหารตามตลาดสด เช่น อาหารทะเล  พบได้ในอาหารบรรจุเสร็จ เช่น อาหารกระป๋อง ไอศกรีม นม  พบเชื้อในน้ำดื่ม น้ำที่ใช้บริโภค  พบเชื้อในภาชนะหรืออุปกรณ์ประกอบอาหาร เช่น เขียง

การเก็บตัวอย่าง swab จากมือ  swab เก็บในขวด Cary-Blair มีฝาปิดสนิท  นำไม้ swab จุ่มใน buffer พอหมาด  ป้ายนิ้วทุกนิ้วจากปลายถึงข้อที่ 2 ของนิ้ว  ป้ายนิ้วหัวแม่มือจากปลายถึงข้อที่ 1    จุ่มลงใน Cary-Blair ให้ถึงก้นขวด  เก็บรักษาตัวอย่างที่อุณหภูมิห้อง

การเก็บตัวอย่าง swab จากภาชนะ  swab เก็บในขวด Cary-Blair มีฝาปิดสนิท  นำไม้ swab จุ่มใน buffer พอหมาด  ป้ายภาชนะส่วนที่สัมผัสอาหารให้มากที่สุด ทำซ้ำ 3 ครั้ง    ป้ายให้ได้เนื้อที่ประมาณ 4 ตารางนิ้ว        ป้ายภาชนะอย่างน้อย 5 ชิ้น ต่อ 1 ตัวอย่าง  เก็บรักษาตัวอย่างที่อุณหภูมิห้อง

การเก็บตัวอย่างน้ำทางจุลชีววิทยา น้ำจากก๊อกน้ำ ทำความสะอาดก๊อกแล้วเปิดทิ้งก่อน 1-2 นาที น้ำจากบ่อคันโยก ทำความสะอาดแล้วโยกทิ้งก่อน 5 นาที น้ำจากบ่อคันโยก จุ่มขวดลงไปลึก 5-10 cm แล้วเปิดฝา  ส่งตัวอย่างโดยเร็วที่สุด ภายใน 24 ชั่วโมง  น้ำทุกชนิดแช่เย็นขณะนำส่ง และรักษาสภาพที่ 4 องศาเซนเซียส

การเก็บตัวอย่างน้ำทางจุลชีววิทยา  ใช้วิธีปราศจากเชื้อและปริมาตรเพียงพอ  เครื่องดื่มสุ่มเก็บจากหลายๆ จุด  น้ำบรรจุขวดและน้ำแร่ สุ่มจากหลายตำแหน่งในโรงงาน  น้ำผลิตน้ำแข็ง เก็บจุดก่อนเข้าซองน้ำแข็ง และรักษาสภาพเป็น ก้อนแข็งจนถึงห้องปฏิบัติการ

การเก็บตัวอย่างน้ำทางจุลชีววิทยา ขวดที่เก็บควรมีปากกว้าง ขนาดมากกว่า 500 มล. ถุงพลาสติกที่แห้งและสะอาด  เก็บตัวอย่างประมาณ 500 มล.  น้ำที่อาจจะมีคลอรีน ต้องเติม 3% โซเดียมไธโอซัลเฟต 0.1 มล.  น้ำทุกชนิดปิดปากภาชนะให้สนิท และระวังการปนเปื้อน

การเก็บตัวอย่างน้ำทางกายภาพและเคมี  น้ำทั่วไป เก็บด้วยวิธีเดียวกันกับตัวอย่างจุลชีววิทยา  น้ำประปา น้ำบาดาล น้ำจากก๊อกน้ำ เขย่าล้างภาชนะ 2-3 ครั้ง  น้ำแข็งรักษาสภาพเป็นก้อนแข็งจนถึงห้องปฏิบัติการ  น้ำชนิดอื่นๆ เก็บรักษาที่ 20-30 องศาเซลเซียส  น้ำที่วิเคราะห์หาฟลูออไรด์ ควรใช้ขวดพลาสติก

การเก็บตัวอย่างอาหารที่ไม่ได้แบ่งบรรจุ ตัวอย่าง เช่น อาหารปรุงสำเร็จ ไอศกรีมจากถัง  สุ่มเก็บหลายๆ จุด จุดละเท่ากัน โดยวิธีปราศจากเชื้อ  ทิ้งให้อาหารเย็นก่อนตักและเก็บที่ตำแหน่งต่ำกว่าผิวหน้า 1 นิ้ว ปริมาณตัวอย่างที่เหมาะสม คือ 100 กรัมหรือตามสภาพปัญหา อาหารต่างชนิดกัน ต้องแยกเก็บตัวอย่าง  ตัวอย่างทุกชนิดปิดปากภาชนะให้สนิท และระวังการปนเปื้อน

การเก็บตัวอย่างอาหารที่แบ่งบรรจุ  ตัวอย่าง เช่น อาหารกระป๋อง ไอศกรีมแท่ง  สุ่มตามวิธีสุ่ม (random sampling)  ควรสุ่มจาก Lot เดียวกัน หรือวันที่ผลิตเหมือนกัน  อาหารที่มีหลายแบบ ต้องแยกเก็บตามภาชนะบรรจุ  ตัวอย่างทุกชนิดปิดปากภาชนะให้สนิท และระวังการปนเปื้อน

การเก็บตัวอย่างอาหารที่แบ่งบรรจุ  การเก็บตัวอย่างนม UHT, Pasteurized  ควรสุ่มจาก Lot เดียวกัน หรือวันที่ผลิตเหมือนกัน 20 ถุง บรรจุในถุงพลาสติก ก่อนวางในกล่องโพม ระวังไม่ให้น้ำแข็งปนเปื้อนเข้าไปในถุงพลาสติก  ใส่น้ำแข็งหรือ ICE PACK รอบถุงพลาสติกให้เพียงพอ

อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บตัวอย่างอาหารและน้ำ ถุงพลาสติก (7x 11 นิ้ว) ขวด Duran ฝาเกลียว ตัวอย่างน้ำ 200 มิลลิลิตร ถุงพลาสติก (7x 11 นิ้ว)

การบรรจุหีบห่อตัวอย่างตรวจ ถุงพลาสติก/หลอดบรรจุในกระป๋องที่มีฝาปิด Clotted blood ในtube ขนาดใหญ่ รองด้วยสำลี swab ใส่ถุงพลาสติก 3 ชั้น ปิดฝากระป๋องให้สนิท ใส่ในกระติก/กล่องโฟมที่มีน้ำแข็ง ...

การบรรจุหีบห่อตัวอย่างตรวจ 28 28

ตัวอย่างส่งตรวจที่ไม่เหมาะสม 29 29

สวัสดี