ชี้แจงแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล การกู้และฝากเงินระหว่างสหกรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ลานเทปาล์มน้ำมัน ตำบลนาเหนือ
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
1) จำนวนเงินใน Slip Carbon ไม่ตรงกับ ยอดเงินของโรงเรียน สาเหตุที่ยอดเงินใน Slip Carbon ไม่ตรง กับโรงเรียนเนื่องจาก  โรงเรียนชำระเงินสะสม 3% ที่ธนาคารไทย.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2400 (ปรับปรุง)
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชี้แจงแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล การกู้และฝากเงินระหว่างสหกรณ์ กลุ่มพัฒนาสหกรณ์ออมทรัพย์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงินและร้านค้า 5 มีนาคม 2561

ระเบียบวาระการประชุม ชี้แจงแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลการกู้และฝากเงินระหว่างสหกรณ์ ระเบียบวาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ 2.1 ผลการสำรวจข้อมูลการกู้และฝากเงินระหว่างสหกรณ์ 2.2 วิธีการใช้ไฟล์ข้อมูล (Excel) การกู้และฝากเงินระหว่าง สหกรณ์ 2.3 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลการกู้และฝากเงินระหว่าง สหกรณ์ ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา 3.1 มอบให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานส่งเสริม สหกรณ์กรุงเทพมหานครพื้นที่ ๑ และ ๒ ดำเนินการตรวจสอบ/วิเคราะห์ ข้อมูลต้นทางและปลายทางของการกู้และฝากเงินระหว่างสหกรณ์ 3.2 จัดส่งข้อมูลการตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ที่มี สถานะความเสี่ยง ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องอื่นๆ

ระเบียบวาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ สหกรณ์แต่ละประเภทมีการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างเพิ่มขึ้น จังหวัดไม่มีฐานข้อมูลและข้อเท็จจริงการทำธุรกรรมระหว่าง สหกรณ์ (สหกรณ์ต้นทางและสหกรณ์ปลายทาง) เพื่อใช้ในการ แนะนำส่งเสริมและส่งสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าแก่สหกรณ์ ทำการสำรวจข้อมูลดังกล่าวเมื่อเดือนมกราคม 2561

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ 2 ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ 2.1 ผลการสำรวจข้อมูลการกู้และฝากเงินระหว่างสหกรณ์ ตามหนังสือกรมส่งเสริมสหกรณ์ ด่วนที่สุด ที่ กษ 1106/206 ลง วันที่ 10 มกราคม 2561 เรื่องขอให้จัดเก็บข้อมูลการฝากและ การกู้เงินระหว่างสหกรณ์ เพื่อให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดทุก จังหวัดและสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1 และ พื้นที่ 2 มีฐานข้อมูล รวมทั้งหน่วยงานส่วนกลางสามารถใช้ข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ความเชื่อมโยงทางการเงินของระบบสหกรณ์ในภาพรวม ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ โดย จัดเก็บข้อมูลการรับฝากเงินและการให้กู้ยืมเงินระหว่างสหกรณ์ทุก แห่งในพื้นที่(สหกรณ์ทุกประเภท) และให้จัดส่งข้อมูล ตาม แบบฟอร์มที่กำหนดที่ส่งมาทางอีเมล์เป็น Excel File ภายในวันที่ 16 มกราคม ๒๕๖๑ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด จำนวน 76 จังหวัด และสำนักงาน ส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1 และพื้นที่ 2 ได้รายงาน ข้อมูลการรับฝากเงินและการให้กู้ยืมเงินระหว่างสหกรณ์ทุกแห่งใน พื้นที่แล้ว จำนวน 6,866 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 99 ของสหกรณ์ ภายในประเทศทั้งระบบที่ยังมีการดำเนินธุรกิจ

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ (ต่อ). 2 ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ (ต่อ) 2.2 วิธีการใช้ไฟล์ข้อมูล (Excel) การกู้และฝากเงินระหว่างสหกรณ์ 2.3 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลการกู้และฝากเงินระหว่างสหกรณ์

ขั้นตอนการใช้ไฟล์ข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล “ต้นทาง” + “ปลายทาง” จังหวัด : จังหวัด สอ.... : สอ.... หากข้อมูลไม่ถูกต้อง - ส่งข้อมูลแก้ไขตามแบบที่กำหนดในไฟล์ TRNSC_EDIT_( ชื่อจังหวัด) . โดยให้ตรวจสอบ รวบรวมการแก้ไขข้อมูลและส่งมาในคราวเดียว ทั้งนี้การแก้ไข ให้แก้ไขข้อมูลตามแบบที่กำหนดเท่านั้น เนื่องจากไฟล์ไม่ สามารถเพิ่มหรือลดข้อมูลตามแบบายงานเก่าได้ อีกทั้งต้องมี การตรวจสอบข้อมูลทั้งหมด และปริมาณข้อมูลทั้งประเทศมี จำนวนมาก ** จังหวัด/พื้นที่ ควรมีการอัพเดทฐานข้อมูลการกู้เงินและฝากเงิน ระหว่างกันของสหกรณ์อย่างสม่ำเสมอ เพื่อเป็นข้อมูลในการส่งเสริม และกำกับดูแลสหกรณ์ในความรับผิดชอบของพื้นที่/จังหวัด หากมีสิ่ง ผิดปกติเกิดขึ้น ก็จะทำให้สามารถแก้ไขได้ทันเวลา และหากผู้บริหาร ต้องการข้อมูลการกู้เงินและฝากเงินระหว่างกันของสหกรณ์ในจังหวัด/ พื้นที่ ของท่าน สามารถมีข้อมูลดังกล่าวให้แก่ผู้บริหารได้

แนวทางการวิเคราะห์ ดูธุรกรรมสหกรณ์ในความรับผิดชอบ เจาะเข้าไปในรายธุรกรรม โดยเริ่มจากธุรกรรมที่มีมูลค่าสูง ที่สุดก่อน ดูข้อมูลการเงินสหกรณ์ที่รับผิดชอบ 3 ปีย้อนหลัง เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินของสหกรณ์ทั้ง 2 แห่ง ใน เบื้องต้นแล้วเห็นว่ามีความเสี่ยง ให้ประสานไปยัง จังหวัดคู่ธุรกรรมเพื่อตรวจสอบรายการธุรกรรมดังกล่าว พร้อมให้จังหวัด คู่ธุรกรรม วิเคราะห์ฐานะการเงินและ สะท้อนความเสี่ยงของสหกรณ์คู่ธุรกรรมส่งกลับมา

แนวทางการดูข้อมูลการเงิน สหกรณ์ต้นทาง ธุรกรรม(รับฝาก+กู้ยืมเงิน)กับต้นทางต่อสินทรัพย์ปลายทาง (ไม่ควรมีสัดส่วนที่สูง) ธุรกรรม(รับฝาก+กู้ยืมเงิน)กับต้นทางต่อหนี้สินปลายทาง ธุรกรรม(นำเงินไปฝาก+ให้กู้ยืมเงิน)ต้นทางต่อสินทรัพย์ปลายทาง (ไม่ควรมีสัดส่วนสูง) อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (ไม่ควรมีสัดส่วนที่สูง) ขาดทุนติดต่อกันหรือไม่ (ไม่ควรขาดทุนติดต่อกัน) ทุนสำรองมีแนวโน้มลดลงหรือไม่ (ไม่ควรมีแนวโน้มลดลงต่อเนื่อง) ทุนเรือนหุ้นลดลงอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ รายได้มีแนวโน้มลดลงหรือไม่ (ไม่ควรมีแนวโน้มลดลงต่อเนื่อง) ค่าใช้จ่ายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นหรือไม่ (ไม่ควรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง) ทางใช้ไปของเงิน ใช้ไปกับการลงทุนมากกว่าลูกหนี้เงินกู้หรือไม่ หนี้สิน – เงินกู้ยืม = เงินรับฝาก (เงินรับฝากควรมากกว่าเงินกู้ยืม) สหกรณ์ปลายทาง ธุรกรรม(รับฝาก+กู้ยืมเงิน)กับปลายทางต่อสินทรัพย์ต้นทาง (ไม่ควรมีสัดส่วนที่สูง) ธุรกรรม(รับฝาก+กู้ยืมเงิน)กับปลายทางต่อหนี้สินต้นทาง ธุรกรรม(นำเงินไปฝาก+ให้กู้ยืมเงิน)ปลายทางต่อสินทรัพย์ต้นทาง (ไม่ควรมีสัดส่วนสูง) อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (ไม่ควรมีสัดส่วนที่สูง) ขาดทุนติดต่อกันหรือไม่ (ไม่ควรขาดทุนติดต่อกัน) ทุนสำรองมีแนวโน้มลดลงหรือไม่ (ไม่ควรมีแนวโน้มลดลงต่อเนื่อง) ทุนเรือนหุ้นลดลงอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ รายได้มีแนวโน้มลดลงหรือไม่ (ไม่ควรมีแนวโน้มลดลงต่อเนื่อง) ค่าใช้จ่ายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นหรือไม่ (ไม่ควรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง) ทางใช้ไปของเงิน ใช้ไปกับการลงทุนมากกว่าลูกหนี้เงินกู้หรือไม่ หนี้สิน – เงินกู้ยืม = เงินรับฝาก (เงินรับฝากควรมากกว่าเงินกู้ยืม)

แนวทางการเขียนรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลการเงิน สหกรณ์ต้นทาง ธุรกรรมนำเงินไปฝากกับคลองจั่นต่อสินทรัพย์ดอยสะเก็ด สูงถึง 57% แสดงให้เห็นว่าสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ครูดอยสะเก็ดเอาเงิน ของสหกรณ์มากกว่าครึ่งที่มีไปไว้ที่สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น เพียงแห่งเดียว มีความเสี่ยงที่จะไม่ได้รับชำระเงินคืนและอาจ ส่งผลต่อการดำเนินงานในอนาคตหากสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน คลอง จั่นไม่สามารถคืนเงินฝากได้ (เพิ่มเติม ทำไมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนครู ดอยสะเก็ดนำเงินไปฝากสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่นสูงขนาดนี้ มี ความผิดปกติ ???) และควรมีการตรวจสอบผลการประชุม คณะกรรมการ หรือมติการประชุมใหญ่ หรือใครเป็นผู้อนุมัติการนำ เงินไปฝากเป็นต้น อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 4.38 เท่า ซึ่งสูงเกินไป สะท้อนให้ เห็นว่าสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนครูดอยสะเก็ดดำเนินธุรกิจโดยพึ่งพา หนี้สินมากกว่าพึ่งพาทุนของสหกรณ์เองและยังมีช่องว่างดังกล่าวสูง มาก และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนครูดอยสะเก็ดทั้งที่มีหนี้สูง ก็ยังนำ เงินไปฝากสหกรณ์อื่นอีก (เฝ้าระวัง) ขาดทุนติดต่อกันเกิน 3 ปี ส่งผลให้ทุนสำรองลดลง มีความเสี่ยงต่อ เจ้าหนี้ของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนครูดอยสะเก็ด ที่ไม่สามารถหา กระแสเงินสดมาชำระหนี้เจ้าหนี้ได้ รวมถึงสมาชิกที่ฝากเงินกับ สหกรณ์ (เฝ้าระวัง)

แนวทางการเขียนรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลการเงิน สหกรณ์ต้นทาง (ต่อ) ทุนลดลงจากการขาดทุนสะสม รายได้มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง สัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อรายได้ ปี 2557 – 2559 เท่ากับ 103% 183% 157% ตามลำดับ จะเห็นว่า ค่าใช้จ่ายต่อรายได้ของปี 2558 กระโดดขึ้นมาที่ 183% จากปีก่อน หน้า เพราะอะไร ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนถึงความเสี่ยงทางการเงินที่ ชัดเจน (ผู้วิเคราะห์ต้องหาคำตอบ เช่น รายงานประจำปี งบ การเงิน รายงานการประชุม เป็นต้น) เพื่อหาที่มาถึงความเสี่ยงใน เรื่องค่าใช้จ่ายดังกล่าว (ตั้งข้อสังเกตค่าใช้จ่ายที่สูงมา จากอะไร) ทางใช้ไปของเงิน พบว่าใช้ไปกับการลงทุนมากกว่าลูกหนี้เงินกู้ มากกว่าหลายเท่าตัว (ใช่บทบาทของสหกรณ์หรือไม่ หากสหกรณ์ ดังกล่าวเป็นสหกรณ์ที่อยู่ในรูปแบบสหกรณ์การเงิน ลงทุนสูงกว่า ลูกหนี้เงินกู้สูงถึง 467 เท่า (สหกรณ์ทำอะไร ??) ** กรณีสหกรณ์ออมทรัพย์ยิ่งไม่ควรเกิดขึ้นในลักษณะนี้ เนื่องจาก การดำเนินธุรกิจมีข้อจำกัดมากกว่าสหกรณ์ประเภทอื่น

แนวทางการเขียนรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลการเงิน สหกรณ์ต้นทาง (ต่อ) เงินกู้ยืมกับเงินรับฝากของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนครูดอยสะเก็ด มี มูลค่าใกล้เคียงกัน ทั้งนี้ ต้องดูว่า เงินรับฝากส่วนใหญ่ เป็นเงินรับฝากสมาชิกหรือไม่ ถ้าไม่ใช่อาจจะมีความเสี่ยงอย่างไร เพราะหนี้ส่วนใหญ่ มาจากภายนอก สหกรณ์ปลายทาง ให้วิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินสหกรณ์ปลายทาง ในลักษณะเดียวกับ สหกรณ์ต้นทาง ปัจจุบัน สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น ทุนของสหกรณ์ติดลบสูงถึง 13,000 ล้านบาท สรุป มีความเสี่ยงที่อาจจะไม่ได้รับชำระเงินดังกล่าวคืนทั้งจำนวนใน อนาคต ให้สหกรณ์ทำแผนในเรื่องดังกล่าว ในการทยอยเอาเงิน ดังกล่าวออกมา หากไม่สามารถถอนออกมาได้จะกระทบต่อสภาพคล่อง ของสหกรณ์หรือไม่ สหกรณ์มีแผนรองรับหรือไม่อย่างไร

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา 3.1 มอบให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานส่งเสริม สหกรณ์กรุงเทพมหานครพื้นที่ ๑ และ ๒ ดำเนินการตรวจสอบ/วิเคราะห์ข้อมูลต้นทางและปลายทาง ของการกู้และฝากเงินระหว่างสหกรณ์ .............................................................................................................................. .............................................. 3.2 เข้าตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ที่มีสถานะ ความเสี่ยง และรายงานให้กรมทราบ

แบบประเมินการประชุมทางไกล (Conference) ชี้แจงแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลการกู้และฝากเงินระหว่างสหกรณ์ *** ให้ผู้เข้ารับการประชุมทุกท่านที่เข้าร่วมประชุมทางไกล (Conference) กรอกแบบประเมินนี้ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   น.ส.กัญญณัช ดิเรกศิลป์ นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ นายอภินพ ยะศะนพ นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ นายอิชยา อุดมกิจแจ่มเลิศ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ น.ส.ชญานันท์ เลิศวีรนนทรัตน์ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ กลุ่มพัฒนาสหกรณ์ออมทรัพย์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงินและร้านค้า โทรศัพท์ 0 2628 5529 อีเมล์ cpd_finance@cpd.go.th