การดำเนินงาน Service plan สาขายาเสพติด ของเขตสุขภาพที่ 3 นายแพทย์อังกูร ภัทรากร (นายแพทย์ทรงคุณวุฒิด้านเวชกรรมสาขาจิตเวช) รองผู้อำนวยการสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี และ พญ.ธีราพร วิทิตสิริ ประธาน SP สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด
เป้าหมายการพัฒนานาระบบบริการด้านยาเสพติด มีมาตรการส่งเสริมป้องกัน ระดับรร. ชุมชน สถานประกอบการ ผู้ป่วยเข้าถึงบริการบำบัดรักษาตามสิทธิผู้ป่วย แทนการลงโทษความผิดเน้น สมัครใจและกึ่งสมัครใจตาม คสช.108/2557 ผู้ป่วยทุกระบบได้รับการบำบัดฟื้นฟูตามเกณฑ์มาตรฐาน รวมทั้งมาตรการลดอันตรายจากยาเสพติด (Harm reduction) สถานพยาบาลยาเสพติดเพียงพอ มีมาตรฐานได้รับการรับรองคุณภาพ (HA ยาเสพติด) บุคลากรผู้ปฏิบัติงานบำบัดรักษามีความรู้ความชำนาญตามมาตรฐานวิชาชีพ
เป้าหมายการดำเนินงานปี 2560 จูงใจค้นหา มาตรการเชิงบวก ระบบสมัครใจ 74,000 ราย ระบบบังคับบำบัด 72,500 ราย ระบบต้องโทษ 20,200 ราย กึ่งสมัครใจ ตาม คสช. 108 53,300 ราย Education รพ.สต.,รพช, ผู้ใช้ V2=2-3 รอตรวจพิสูจน์ (กรมราชทัณฑ์) กรมพินิจ กรมราชทัณฑ์ ยินยอม BA,BI รพช. รพท. รพศ. ค่ายศูนย์ขวัญฯ ผู้เสพ V2=4-26 *ศูนย์เพื่อการคัดกรอง (รพ.ทุกแห่ง) *คณะอนุกรรมการ ฟื้นฟูฯ -MI - CBT -Matrix Program - ศุนย์ฟื้นฟูชุมชน ผู้ติด V2= 27 ขึ้น * ไม่ควบคุมตัว 41,000 ราย ควบคุมตัว 31,500 ราย Emergency Treatment รพ.ทุกแห่ง วิกฤติ ฉุกเฉิน เรื้อรัง/มีโรคแทรกซ้อน * ไม่เข้มงวด ( สธ ) กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต พหุภาคี (ทอ ทบ ทร ตร ปค) ** เข้มงวด ( คป) ศูนย์ ลาดหลุมแก้ว ศูนย์ ปัตตานี * ศูนย์ สมุทรปราการ * ทอ. ทร. * เรื้อรัง ยุ่งยาก ซั้บซ้อน ผู้ป่วยนอก-ใน กรมการแพทย์ โรคร่วมทางจิตเวช ผู้ป่วยนอก-ใน กรมสุขภาพจิต
ผลการดำเนินงานบำบัดรักษายาเสพติด จำแนกตามรายเขต (ปี2559) สาขายาเสพติด เขต 3 ผลการดำเนินงานบำบัดรักษายาเสพติด จำแนกตามรายเขต (ปี2559) เชียงใหม่ เชียงราย ปทุมธานี อยุธยา ชลบุรี ฉะเชิงเทรา กรุงเทพ นครราชสีมา อุบลราชธานี ขอนแก่น มหาสารคาม สงขลา ราชบุรี นครปฐม อุดรธานี สุราษ, นครศรีธรรมราช พิษณุโลก ตาก นครสวรรค์ เขต
สาขายาเสพติด เขต 3(ต่อ) สาขายาเสพติด เขต 3(ต่อ) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่าย จากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์ที่กำหนด ปี 2559 (จำแนกตามเขตสุขภาพ) ที่มา : ระบบรายงานข้อมูล บสต ณ วันที่ 22 ส.ค. 59.
สาขายาเสพติด เขต 3(ต่อ) สาขายาเสพติด เขต 3(ต่อ) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่าย จากการบำบัดรักษา ตามเกณฑ์ที่กำหนด ปี 2560 ของเขตสุขภาพที่ 3 จำแนกรายจังหวัด ที่มา : รายงานการตรวจราชการ (ผลการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน)
ข้อมูลการจัดบริการเขตสุขภาพที่ 3 สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) ข้อมูลการจัดบริการเขตสุขภาพที่ 3 จังหวัด จำนวน รพ. ผ่าน HA ยาเสพติด บริการ MMT แพทย์ พยาบาล เฉพาะทางฯ สาขายาเสพติด กำแพงเพชร 11 5 (45.45) - 1 /10 1/10 พิจิตร 10 7 (70.0) 1/9 2/8 นครสวรรค์ 13 7 (53.85) 2/11 4/9 อุทัยธานี 8 7 (87.50) -/8 1/7 ชัยนาท 6 6 (100.0) 1 1/5 6/- รวม 48 32 (66.67) 5/43 14/34 (ข้อมูล ณ วันที่14 ก.พ.2560)
สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) Gap analysis Plan (Leadership & Governance) - โครงสร้างไม่ชัดเจน และอัตรากำลังยังไม่เพียงพอในการดำเนินงาน - ยังไม่มีระบบการกำกับดูแลมาตรฐานและบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยบำบัดในพื้นที่ (บังคับบำบัด ต้องโทษ) ควรกำหนดโครงสร้างงานยาเสพติดเฉพาะ และมีผู้รับผิดชอบงานให้ชัดเจน - กำหนดกรอบอัตรากำลังและความก้าวหน้าเพื่อเป็นขวัญกำลังใจ กำหนดโครงสร้างการปฏิบัติงานในงาน/กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด (สำนักงานปลัดกระทรวงฯ) (Service delivery) - การพัฒนาและรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (HA ยาเสพติด) ยังไม่ถึงเป้าหมาย - สบยช. จัดผู้รับผิดชอบให้การสนับสนุนเขตในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องข้อกำหนด เกณฑ์มาตรฐาน สถานพยาบาลยาเสพติด กระตุ้นหน่วยงานให้เข้าสู่กระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพ
สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) Gap analysis Plan (Service delivery) ไม่มีสถานที่บำบัดหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตฉุกเฉินทางยาเสพติด หรือผู้ป่วยที่เกินศักยภาพของ รพช. หรือ ผู้ติดรุนแรง บริการ MMT ยังไม่ครอบคลุม ( มี รพ.ชัยนาท เปิดดำเนินงาน 1 แห่ง) - สนับสนุนให้เขต จัดบริการเตียงผู้ป่วยยาเสพติดภาวะเร่งด่วน (Acute care) ในรพ.ระดับ A,S, M1 ( สปร.กำลังดำเนินการ) สนับสนุนการจัดระบบส่งต่อผู้ป่วย ให้คำปรึกษา และการ ประสานงานกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ และ สบยช. สนับสนุนให้มีการจัดบริการ คลินิค MMT ในทุกจังหวัด หรือมีระบบการจัดบริการให้เพียงพอในเขตสุขภาพ (Health workforce) การพัฒนาศักยภาพบุคลากรยังไม่ครบตามกรอบของ Service plan เช่น พยาบาลเฉพาะทางยาเสพติด เวชศาสตร์ยาเสพติดสำหรับแพทย์ เขตสำรวจความขาดแคลนแพทย์ รพช. และสนับสนุนเข้าอบรม ที่ สบยช. (สำหรับ รพท รพศ. ให้พบจิตแพทย์น่าจะเพียงพอ) ทีมจิตแพทย์ของเขต 3 มีการอบรมให้แพทย์ รพช.ไปแล้ว 2 ครั้ง (ประมาณ 10 แห่ง) และจัดทำแผ่นภาพพลิกให้ความรู้และแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยยาเสพติดแก่ รพ. ทุกระดับในเขตสุขภาพ อบรม บสต. ระบบใหม่ ครบถึงระดับ รพ.สต. อบรม Matrix, MET ครบทุก รพ. อบรม BA, BI ถึงระดับ รพ.สต.
หลักสูตรที่มีความต้องการเร่งด่วน ในพัฒนาบุคลากรระดับผู้ปฏิบัติงาน สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) หลักสูตรที่มีความต้องการเร่งด่วน ในพัฒนาบุคลากรระดับผู้ปฏิบัติงาน หลักสูตรเวชศาสตร์ยาเสพติดสำหรับแพทย์ (หลักสูตร 3 วัน) (หน่วยจัดอบรม คือ สบยช. รพ.ธ.เชียงใหม่ ขอนแก่น สงขลา) หลักสูตรเวชศาสตร์ฉุกเฉินและยาเสพติด (ที่ สบยช.) หลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง (4 เดือน )สาขายาเสพติด
แผนการดำเนินงานด้านยาเสพติดของเขตสุขภาพที่ 3 งบประมาณปี 2560 สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) แผนการดำเนินงานด้านยาเสพติดของเขตสุขภาพที่ 3 งบประมาณปี 2560 พัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านยาเสพติด ขอสนับสนุนงบประมาณฝึกอบรมจากหน่วยงาน และเขตสุขภาพ พัฒนาระบบ และศักยภาพบุคลากรใน รพศ. / รพท. ให้สามารถดูแลผู้ป่วยระยะบำบัดด้วยยา / วิกฤติฉุกเฉิน ประชุมคณะกรรมการ Service Plan ยาเสพติดและกำหนดกรอบการดำเนินงานในระดับเขต/จังหวัด (จัดประชุมไปแล้ว 1 ครั้ง) พญ.ธีราพร วิทิตสิริ ประธาน SP สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด นางนีรนุช โชติวรางกูล เลขา SP สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด สนับสนุนการประเมินเพื่อรับรองคุณภาพสถานบำบัดรักษายาเสพติด (HA ยาเสพติด) กำกับดูแลมาตรฐานและบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยบำบัดในพื้นที่ (บังคับบำบัด ต้องโทษ) มีการดำเนินร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เช่น โรงเรียน ปกครอง ยุติธรรม ฯ
ประเด็นการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือด้านบริการและวิชาการ ระหว่างกรมการแพทย์กับเขตสุขภาพที่ 3 สาขายาเสพติด ปีงบประมาณ 2560 สิ่งที่ต้องการ ร้อยละ 92 ของผู้ป่วยยาเสพติด ที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่าย จากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด GAP Analysis Service delivery : คุณภาพของการบริการยาเสพติด Health workforce : ขาดแคลนสหวิชาชีพหลายสาขา Leadership and Governance : - การส่งเสริมป้องกันปัญหายาเสพติดในทุกกลุ่มวัย - อำนาจในการประสานงานและการปรับเปลี่ยนคุณภาพของค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Planning พัฒนาคุณภาพการบริการยาเสพติดในสถานบริการ (เขตสุขภาพ) กำหนดโครงสร้างการปฏิบัติงานในงาน/กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด (สำนักงานปลัดกระทรวงฯ) สนับสนุนการเพิ่มอัตรากำลังคน และความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน (สำนักงานปลัดกระทรวงฯ) Situation Analysis การแพร่ระบาดของปัญหายาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ประชาชนขาดความตระหนักในปัญหายาเสพติด ผู้เสพส่วนใหญ่ไม่สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษา มาตรฐานการบำบัดยังไม่เป็นเป็นแนวทางเดียวกัน (HA ยาเสพติด) การบันทึก บสต. ยังไม่ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน ความสามารถในการจัดการคุณภาพของค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โครงสร้างการปฏิบัติงานยังไม่ชัดเจน ขาดแคลนกำลังคนในการปฏิบัติงาน
ขอบคุณครับ