การบรรยาย เรื่อง “นโยบายการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาสู่การปฏิบัติ” โดย นางวราภรณ์ สีหนาท วันที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประกันคุณภาพภายนอก
Advertisements

IQA network Why and How to ?
IQA network Why and How to ?
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
การประชุม เพื่อขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนของ พื้นที่ป่าไม้และเขตปฏิรูปที่ดิน ระดับจังหวัด โดย นางมิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
แนวทางการดำเนินงานประกัน คุณภาพการทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน การประชุมเชิง ปฏิบัติการ สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือ แรงงาน.
Education Quality Assurance. 2 Education Quality Assurance?
1. 2 สถานะโครงการสำคัญในปีงบประมาณ 2559 พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย ส่งมอบ 10 โครงการ 1,384 หน่วย อยู่ระหว่างก่อสร้าง จะแล้วเสร็จ.
Strategy Map วิสัยทัศน์ : “เป็นองค์การที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการและคุ้มครองสิทธิการถือครองที่ดินของรัฐและประชาชน มุ่งเน้นการให้บริการโดยบริหารจัดการที่ดี
บทบาทอำนาจหน้าที่และความสำคัญของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาหมู่บ้าน
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรภาค 3
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
การประชุมทบทวนบริหาร
แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
“วัฒนธรรมองค์กร” (Organization Culture)
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
บริษัท จำกัด Logo company
โครงการพัฒนาเกษตรใช้น้ำน้อย (DESIGN BY AGRI MAP) สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าตำบลตูม อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา.
งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
ระเบียบวาระการประชุม
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
Change 59 Road Map “เปลี่ยน...เพื่อสิ่งที่ดีกว่า” แนวทางการปฏิบัติงาน
การจัดการสุขภาพกลุ่มเสี่ยง
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
แผนบริหารความเสี่ยง (องค์กร) ปี 2562 มทร.พระนคร
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
รายงานการปฏิบัติงาน งานบริหารและธุรการ ฤ
รายงานการประเมินตนเอง
ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ
ครอบครัว กับการคืนสู่สุขภาวะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
SBAR.
การศึกษา ในฐานะเป็นปัจจัย กำลังอำนาจแห่งชาติ
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
พระพุทธศาสนา.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
(ร่าง) ตัวบ่งชี้และ เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา
สมุทรสงคราม -ว่าง- นายธีระชาติ ไทรทอง นางภาวดี ภูมรินทร์
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
นโยบายการบริหารงาน ปี 2560
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
เรียนรู้เทคนิคการสร้าง PowerPoint slide Index
การรับนักเรียนเข้าศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ
การประชุมชี้แจงแนวทางการกรอกข้อมูล เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะสำหรับกรุงเทพมหานคร โดย คณะที่ปรึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยในเครือข่ายการวิจัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบรรยาย เรื่อง “นโยบายการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาสู่การปฏิบัติ” โดย นางวราภรณ์ สีหนาท วันที่ 5 กันยายน 2549 ณ โรงแรมไดมอนด์พลาซา จ.สงขลา

มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาสู่การปฏิบัติ วัตถุประสงค์ ผู้ที่เข้าร่วมประชุม ลักษณะของการจัดประชุม

การพิจารณาหลักสูตร คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัย (อธิการบดี) ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ สภาสถาบันอุดมศึกษา มีข้อวินิจฉัย คณะอนุกรรมการ ปรับปรุงเกณฑ์ฯ สกอ.(สมอ) เป็นไปตามเกณฑ์ รับทราบ/รับรอง (เลขาธิการ สกอ.) มหาวิทยาลัย สำนักงาน ก.พ.

การพิจารณาหลักสูตรระดับปริญญาเอก คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัย (อธิการบดี) ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ สภาสถาบันอุดมศึกษา คณะอนุกรรมการ ด้านมาตรฐานการศึกษา ส่งพิจารณา สกอ.(สมอ) เป็นไปตามเกณฑ์ รับทราบ/รับรอง (เลขาธิการ สกอ.) มหาวิทยาลัย สำนักงาน ก.พ.

สภามหาวิทยาลัย  องค์กร กำกับ ดูแลสถาบัน (governing body) ในระดับสูงสุด  หน่วยบริหารที่ต้องมี Accountability และ Responsibility ต่อองค์กร ซึ่งสะท้อนความรับผิดชอบทั้งทางแพ่ง อาญา และทางปกครอง  ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของการจัดการศึกษาให้ สอดคล้องกับอำนาจความรับผิดชอบที่กฎหมายกำหนด

ด้านมาตรฐานการจัดการศึกษา  สภาสถาบันมีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณา ให้ความเห็นชอบหลักสูตรที่เปิดสอน  กำหนดนโยบายและกำกับด้านมาตรฐานและคุณภาพ การศึกษา  กำหนดนโยบายด้านการประกันคุณภาพการศึกษาและ ผลักดันให้สถาบันสร้างระบบและกลไกการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน และให้เป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการบริหารการศึกษา

การอนุมัติและให้ความเห็นชอบหลักสูตร สภาสถาบันควรให้มี : การอนุมัติและให้ความเห็นชอบหลักสูตร สภาสถาบันควรให้มี :  การศึกษาความต้องการจำเป็น (Need Assessment)  ความเป็นไปได้ในการเปิดหลักสูตร ความพร้อม ด้านทรัพยากร และปัจจัยเกื้อหนุนอื่นๆ  ความสอดคล้องกับนโยบายของรัฐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา

 ควรจัดให้มีคณะกรรมการกลั่นกรองระดับสาขาวิชา  คณะกรรมการวิชาการ ระดับคณะหรือสถาบัน  คณะกรรมการพิจารณาเนื้อหาสาระทางวิชาการ/วิชาชีพ  การติดตามและประเมินผลหลักสูตร เพื่อนำไปสู่ การพัฒนาหลักสูตรเป็นระยะๆ  ระบบการประกันคุณภาพระดับหลักสูตร และระดับสถาบัน

กรรมการสภาควรต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ เกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

สภาสถาบันควรให้ความสำคัญ  แผนพัฒนาอาจารย์  อาจารย์ประจำหลักสูตรตลอดเวลาที่จัดการศึกษา ตามหลักสูตร  ประสบการณ์ในสาขาวิชาที่เปิดสอนหรือในสาขา ที่สัมพันธ์กัน  สนับสนุนหลักสูตรที่มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ  เปิดสอนหลักสูตรที่กำหนดให้ทำวิทยานิพนธ์ในระดับ บัณฑิตศึกษา

สภาสถาบันควรให้ความสำคัญ (ต่อ)  การรายงานข้อมูลการจัดการศึกษาในแต่ละหลักสูตร  รัฐจะใช้เกณฑ์มาตรฐานการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน ในแต่ละสาขาวิชาประกอบกับศักยภาพของสถาบัน อุดมศึกษา ในการผลิตบัณฑิตเป็นการกำหนดจำนวนรับ ในแต่ละสาขาของแต่ละสถาบัน  สถาบันอุดมศึกษาต้องแสดงศักยภาพที่รวมถึงคุณภาพ ในการจัดการเรียนการสอนต่อสาธารณะผ่านระบบ การรายงานผลและกลไกอื่นๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของสภาสถาบัน

ปัญหาและอุปสรรคในการพิจารณาหลักสูตร 1. ความไม่สอดคล้องและความไม่สมบูรณ์ของข้อมูลระหว่าง แบบรายงานการพิจารณาอนุมัติ (สมอ 01-07) กับตัวเล่ม หลักสูตร เช่น ระยะเวลาศึกษา จำนวนรับ 2. ผู้ลงนามในแบบรายงานข้อมูล มิใช่นายกสภาสถาบันหรือ อธิการบดี เอกสารขาดการประทับตราทุกหน้า 3. อาจารย์ประจำหลักสูตรซ้ำซ้อนกัน ข้อมูลจำนวนและ คุณวุฒิอาจารย์ประจำหลักสูตรไม่ครบถ้วน

ปัญหาและอุปสรรคในการพิจารณาหลักสูตร (ต่อ) 4. การระบุอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่สอดคล้องตามเกณฑ์ 5. การระบุหัวข้อและรายละเอียดการจัดทำหลักสูตรในเล่มหลักสูตร ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ หลักสูตรปรับปรุงไม่มีการเปรียบเทียบ ข้อแตกต่างระหว่างหลักสูตรเดิมกับหลักสูตรปรับปรุง 6. การไม่แนบข้อบังคับตามระดับของหลักสูตร และมติสภาสถาบัน ในคราวประชุมที่อนุมัติหลักสูตร 7. การส่งหลักสูตรมาล่าช้าหลังเปิดดำเนินการ มีผลต่อนักศึกษา

ปัญหาและอุปสรรคในการพิจารณาหลักสูตร (ต่อ) 8. ชื่อหลักสูตรและชื่อปริญญาไม่สอดคล้องกัน 9. การจัดแผนการศึกษาหลักสูตรระดับปริญญาตรี ที่รับผู้สำเร็จ การศึกษาระดับ ปวส. หรืออนุปริญญา เข้าศึกษา

แนวนโยบายการยกระดับคุณภาพมาตรฐานอุดมศึกษาไทย (ของ รมว.จาตุรนต์ ฉายแสง) แนวนโยบายการยกระดับคุณภาพมาตรฐานอุดมศึกษาไทย (ของ รมว.จาตุรนต์ ฉายแสง) 1. สร้างวัฒนธรรมคุณภาพ 2. ปฏิรูปการเรียนการสอน เป้าหมาย “แก้ปัญหาการผลิตบัณฑิตด้อยคุณภาพและปริญญาเฟ้อ” 3. ปฏิรูปการวิจัยและสร้างนวัตกรรม จัดศูนย์ความเป็นเลิศ และสร้างระบบบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา 4. เพิ่มความสัมพันธ์ในการตรวจสอบและประเมินคุณภาพ 5. จัดทำแผนการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานอุดมศึกษาอย่างมีทิศทาง

ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา Road Map การพัฒนาคุณภาพการอุดมศึกษา (พ.ศ. 2548 – 2551) คุณภาพการอุดมศึกษา คุณภาพงานวิจัย ระบบติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา คุณภาพการจัดการศึกษา ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา คุณภาพอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ มาตรฐานการอุดมศึกษา คุณภาพบัณฑิต

ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา Road Map การพัฒนาคุณภาพการอุดมศึกษา (พ.ศ. 2548 – 2551) คุณภาพการอุดมศึกษา แนวทางการจัดหลักสูตรปริญญาโท 2 ปริญญา หลักเกณฑ์การสอนทางไกล มาตรฐานการบริการทางวิชาการ มาตรฐานการจัดการเรียนการสอน มาตรฐานการวิจัย มาตรฐานการอุดมศึกษา หลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียน ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา หลักเกณฑ์การเรียกชื่อปริญญา กรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (NQF) เกณฑ์มาตรฐานสาขาวิชา เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา Road Map การพัฒนาคุณภาพการอุดมศึกษา (พ.ศ. 2548 – 2551) จัดทำแนวทางและเกณฑ์การจัดกลุ่ม ม/ส ผลักดันให้ ม/ส เป็น ม. ในกำกับ คุณภาพการอุดมศึกษา จัดทำแผนการผลิตและพัฒนากำลังคน การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา สร้างความร่วมมือกับต่างประเทศ ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกที่ตั้ง ตั้งเครือข่ายเพื่อการพัฒนาคุณภาพอุดมศึกษา จัดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกัน คุณภาพการจัดการศึกษา (TCU) (Uninet) Benchmarking ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ E-Learning ส่งเสริมบทบาทสภา/ผู้บริหาร ม/ส พัฒนาระบบ IQAเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษาจาก สมศ. ICL ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา ปฏิรูประบบการเงินอุดมศึกษา พัฒนาระบบบัญชีกองทุน ใช้วงจร IQA เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ติดตามประเมินผล IQA และ EQA รอบแรก พัฒนาระบบการจัดสรร งปม.ที่มุ่งเน้นผลงาน วิจัยและติดตามประเมินผลการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ ม/ส ที่มีระบบ IQA และผ่านการประเมิน EQA

ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา Road Map การพัฒนาคุณภาพการอุดมศึกษา (พ.ศ. 2548 – 2551) คุณภาพการอุดมศึกษา พัฒนาวิธีการเรียนการสอน สร้างนวัตกรรมและนำเทคโนโลยีมาใช้ ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม การปฏิรูปการเรียนการสอน หลักสูตร สร้างนวัตกรรมหลักสูตร ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา คุณภาพบัณฑิต การพัฒนานักศึกษา คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ Admissions ส่งเสริมด้านวิชาการและ ความรับผิดชอบต่อสังคม (SML,เด็กอัจฉริยะและเด็กด้อยโอกาส กองทุนหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน, กยศ. จัดทำกรอบคุณธรรมและจริยธรรม การรับบุคคลเข้าศึกษาต่อใน ม/ส สร้างความร่วมมือระหว่าง ม/ส กับ ร.ร.

ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา Road Map การพัฒนาคุณภาพการอุดมศึกษา (พ.ศ. 2548 – 2551) คุณภาพอุดมศึกษา เพิ่มคุณวุฒิอจ.ระดับป.เอก (โครงการทุนพัฒนา อจ. เพื่อศึกษาต่อในและต่างประเทศ Mega Project) โครงการเครือข่ายบริหารงานวิจัย 8 เครือข่าย พัฒนาอาจารย์ ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา เพิ่มศักยภาพทางการวิจัย/สร้างองค์ความรู้ คุณภาพอาจารย์ โครงการส่งเสริมศักยภาพนักวิจัยรุ่นใหม่ (ร่วมกับ สกว.) ส่งเสริม อจ. ทำผลงานวิชาการ อย่างต่อเนื่อง ฝึกอบรม เสริมสร้างขีดสมรรถนะอาจารย์ ดูงาน

ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา Road Map การพัฒนาคุณภาพการอุดมศึกษา (พ.ศ. 2548 – 2551) คุณภาพการอุดมศึกษา ให้มีการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา และการถ่ายทอดเทคโนโลยี โครงการจัดตั้ง TLO คุณภาพงานวิจัย ตั้ง Excellence Center สร้างเครือข่ายบริหารงานวิจัย เร่งรัดสร้างนักวิจัยมืออาชีพ ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา โครงการวิจัยรัฐร่วมเอกชนเชิงพาณิชย์ โครงการ Maga Project โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานราก

ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา Road Map การพัฒนาคุณภาพการอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 – 2551 คุณภาพการอุดมศึกษา โครงการพัฒนาระบบ Poat Audit พัฒนาระบบ Post-Audit สร้างเครือข่ายการรายงานผล ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา ระบบติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา โครงการส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนากลไกการตรวจสอบและเมินผลภายในสถาบัน พัฒนากลไกการตรวจสอบและประเมินผล

ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา Road Map การพัฒนาคุณภาพการอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 – 2551 และการถ่ายทอดเทคโนโลยี (โครงการจัดตั้ง TLO) ให้มีการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา คุณภาพการอุดมศึกษา เร่งรัดสร้างนักวิจัยมืออาชีพ ใช้วงจรการประกันคุณภาพภายในเพื่อพัฒนาคุณภาพ คุณภาพงานวิจัย พัฒนากลไกการตรวจสอบและประเมินผล ทำแผนการผลิตและพัฒนาบุคลากร พัฒนาระบบ Post-Audit ระบบติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา ปฏิรูประบบการเงินอุดมศึกษา จัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา สร้างเครือข่ายบริหารงานวิจัย สร้างเครือข่ายการรายงานผล ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คุณภาพการจัดการศึกษา พัฒนาอาจารย์ เพิ่มศักยภาพทางการวิจัย/สร้างองค์ความรู้ ส่งเสริม อจ. ทำผลงานวิชาการอย่างต่อเนื่อง จัดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ผลักดันให้ ม/ส เป็น ม.ในกำกับ ถนนคุณภาพการอุดมศึกษา เสริมสร้างขีดสมรรถนะอาจารย์ บทบาทของสภา/ผู้บริหาร ม/ส สร้างความร่วมมือกับต่างประเทศ คุณภาพอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกที่ตั้ง มาตรฐานการจัดการเรียนการสอน สร้างนวัตกรรมหลักสูตร มาตรฐานการวิจัย พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้อง กับความต้องการสังคม สร้างนวัตกรรมและใช้เทคโนโลยี ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ พัฒนาวิธีการเรียนการสอน ส่งเสริมด้านวิชาการและความรับผิดชอบต่อสังคม หลักสูตร มาตรฐานการอุดมศึกษา การปฏิรูปการเรียนการสอน คุณภาพบัณฑิต คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ การพัฒนานักศึกษา Admissions เกณฑ์มาตรฐานการบริการทางวิชาการ กรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (NQF) มาตรฐานหลักสูตร หลักเกณฑ์การเรียกชื่อปริญญา การรับบุคคลเข้าศึกษาต่อใน ม/ส จัดทำกรอบคุณธรรมและจริยธรรม สร้างความร่วมมือระหว่าง ม/ส กับ ร.ร.

กฎ ระเบียบและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ในการพิจารณาหลักสูตรที่จะกู้กองทุน กรอ. 1. พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 มาตรา 18 การเปิดดำเนินการในสาขาวิชาใดเพิ่มเติมจากที่ได้รับอนุมัติไว้ตามมาตรา 11 สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน และให้แจ้ง กกอ.ทราบภายใน 30 วัน นับตั้งแต่สภาสถาบันให้ความเห็นชอบ

มาตรา 81 เมื่อปรากฏว่าสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใดได้รับความเห็นชอบให้เปิดดำเนินการในสาขาวิชาใดตามมาตรา 18 แล้ว สถาบันอุดมศึกษาเอกชนนั้นไม่ดำเนินการภายในกำหนด 1 ปี นับตั้งแต่วันที่ได้รับความเห็นชอบให้เปิดดำเนินการในสาขาวิชานั้น ให้ถือว่าการให้ความเห็นชอบให้เปิดดำเนินการสาขาวิชานั้นเป็นอันสิ้นสุดลง

2. แนวทางและวิธีการพิจารณาปรับปรุงหลักสูตร พ. ศ 2. แนวทางและวิธีการพิจารณาปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ.2544 ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สถาบันอุดมศึกษาเอกชนต้องยื่นหนังสือซึ่งลงนามโดยอธิการบดีพร้อมแบบฟอร์ม “การขอปรับปรุงหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน” เสนอต่อทบวงมหาวิทยาลัยก่อนการขอปรับปรุงหลักสูตรที่ต้องการให้มีผลบังคับใช้ไม่น้อยกว่า 60 วัน โดยให้ระบุการให้ความเห็นชอบจากสภาสถาบัน พร้อมแนบมติสภาสถาบัน

3. แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาขอเปิดดำเนินการ หลักสูตร การยื่นขอเปิดดำเนินการหลักสูตร ให้ยื่นก่อนการเปิดดำเนินการหลักสูตรเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 เดือน โดยการขอเปิดดำเนินการหลักสูตรในภาคการเรียนที่ 1 (พฤษภาคม) และภาคเรียนที่ 2 (ตุลาคม) ให้เสนอโครงการภายในเดือนธันวาคมและพฤษภาคม ตามลำดับ ของปีการศึกษาที่จะรับนักศึกษา

4. เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ. ศ 4. เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 (แนวปฏิบัติในการนำเสนอหลักสูตรฯ) หลักสูตรใหม่และหลักสูตรฉบับปรับปรุง (ไม่รวมหลักสูตรปรับปรุงเล็กน้อย) ที่ได้รับความเห็นชอบหรืออนุมัติแล้ว ต้องเสนอให้ กกอ.ทราบภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับความเห็นชอบหรืออนุมัติ เพื่อพิจารณารับทราบ/รับรองหลักสูตร หากไม่ดำเนินการตามระยะเวลาที่กำหนดอาจจะไม่ได้รับการพิจารณารับทราบ / รับรองหลักสูตร ทั้งนี้ สำหรับหลักสูตรใหม่ที่เสนอ สกอ.ต้องได้รับความเห็นชอบหรืออนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย/สภาสถาบันก่อนการเปิดสอน

สรุปประเด็นปัญหาในการพิจารณาของ กรอ. 1. หลักสูตรใหม่ 1.1 กรณีเปิดสอนโดยที่สภามหาวิทยาลัยยังมิได้อนุมัติ 1.2 กรณีสภามหาวิทยาลัยอนุมัติก่อนเปิดเรียนเป็นระยะเวลา < 3 เดือน 1.3 กรณีสภามหาวิทยาลัยอนุมัติแล้วแจ้ง สกอ.เกิน 30 วัน 1.4 กรณีเพิ่งเปิดสอนในหลักสูตรที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติมาแล้ว > 1 ปี 2. หลักสูตรปรับปรุง 2.1 กรณีสภามหาวิทยาลัยอนุมัติก่อนเปิดเรียนเป็นระยะเวลา < 2 เดือน 2.2 กรณีสภามหาวิทยาลัยอนุมัติแล้วแจ้ง สกอ.เกิน 30 วัน 3. จำนวนนักศึกษาที่แจ้งขอกู้ กรอ.สูงกว่าที่สภามหาวิทยาลัย/สถาบันอนุมัติมาก

แนวปฏิบัติในการกำกับมาตรฐานการศึกษาหลักสูตร กรณีการขอรับการจัดสรรทุนตามโครงการปฏิรูประบบการเงินเพื่อการอุดมศึกษา กกอ. มีมติในการประชุมครั้งที่ 8/2549 วันที่ 3 สิงหาคม 2549 ให้เสนอแนะ กรอ. พิจารณาดำเนินการดังนี้

1. ให้ทุนกับนักศึกษาในหลักสูตรที่ได้รับการรับทราบ/รับรองจาก สกอ. แล้ว 2. ให้ทุนในหลักสูตรที่ดำเนินการตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ พ.ศ.2542 ถึงปีการศึกษา 2550 หลังจากนั้นให้ทุนในหลักสูตรฯ พ.ศ.2548 3. ไม่สมควรให้การสนับสนุนทุนในหลักสูตรที่สถาบันอุดมศึกษา เสนอข้อมูลหลักสูตร โดยกำหนดการจัดการศึกษาไว้อย่างหนึ่ง แล้วเสนอขอรับทุนจาก กรอ. โดยไม่เป็นไปตามที่เสนอ สกอ.

4. ควรกำหนดลำดับการให้ทุนกับผู้เรียนที่เพิ่งสำเร็จ ม 4. ควรกำหนดลำดับการให้ทุนกับผู้เรียนที่เพิ่งสำเร็จ ม.6 หรือ เทียบเท่าก่อนผู้ที่มีงานทำแล้ว 5. การนำหลักสูตรไปเปิดสอนนอกสถานที่ตั้ง ซึ่งตามเกณฑ์ฯ ถือว่าเป็นอีกหลักสูตรหนึ่ง ต้องใช้อาจารย์ประจำหลักสูตร ต่างหากจากอาจารย์ประจำหลักสูตรในที่ตั้ง กกอ.มีข้อสังเกตว่า ในกรณีสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สภาสถาบันได้รับทราบหรือไม่ สถาบันควรนำเรื่องเสนอให้ สภาสถาบันพิจารณาแล้วปฏิบัติตามเกณฑ์ฯ พ.ศ.2548 โดยเร็วที่สุด