งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
รอบ 6 เดือน ปีงบประมาณ 2558 กลุ่มงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี

2 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด
LOGO คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด การดำเนินงานจัดประชุม อสธจ. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก เมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี วางแผนจัดประชุมวันที่9 เมษายน พ.ศ. 2558 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี วางแผนประมาณเดือน พ.ค ถึง มิ.ย พ.ศ. 2558

3 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (ต่อ)
LOGO คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (ต่อ) การดำเนินงานจัดประชุม อสธจ.

4 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (ต่อ)
LOGO คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (ต่อ) ปัญหาที่พบ จังหวัดมีงบประมาณไม่เพียงพอในการจัดประชุม ควรมีการนำปัญหาของพื้นที่มาสู่การพัฒนา

5 พัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA)
LOGO พัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) เป้าหมายการดำเนินงาน เจ้าหน้าที่จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ทั้ง 4 จังหวัด (จ.สระบุรี, จ.ลพบุรี, จ.สิงห์บุรี, จ.นครนายก) และ 33 อำเภอ ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ ให้เป็น Intructor เพื่อพัฒนาคุณภาพระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. เทศบาลเมือง และเทศบาลตำบล รวมทั้งสิ้น 75 แห่ง (ประกอบด้วย เทศบาลเมือง 10 แห่ง เทศบาลตำบล 65 แห่ง) ได้มาตรฐานร้อยละ 50

6 กิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว
LOGO พัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) (ต่อ) กิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว อบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ให้เป็น Intructor จัดโดย ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี - หลักสูตร 1 วัน - จัดอบรมวันที่ 23 ธันวาคม 2557 ที่โรงแรมเกี่ยวอัน จังหวัดสระบุรี - มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 60 คน จัดโดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (จังหวัดสระบุรี และ จังหวัดนครนายก) โดยมี ศูนย์อนามัยฯ สนับสนุนเป็นวิทยากร - เป้าหมาย คือ เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล ในพื้นที่ - จังหวัดสระบุรี จัดอบรมวันที่ 12 ธันวาคม 2557 - จังหวัดนครนายก จัดอบรมวันที่ 22 มกราคม 2558

7 LOGO พัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) (ต่อ) อบรมพัฒนาศักยภาพฯ

8 ให้คำแนะนำ สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมแก่ อปท.
LOGO พัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) (ต่อ) ให้คำแนะนำ สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมแก่ อปท.

9 LOGO พัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) (ต่อ) การดำเนินงาน จังหวัด จำนวน อปท. ที่สมัครแล้ว ทม. ทต. รวม สระบุรี 4 34 38 3 ลพบุรี 20 23 12 สิงห์บุรี 2 6 8 นครนายก 1 5 10 65 75

10 LOGO พัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) (ต่อ) ปัญหาที่พบ อปท. บางแห่ง ยังไม่พร้อมเข้ารับการประเมิน เนื่องจากปัญหาด้านโครงสร้าง และขาดบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม อปท. ขาดระบบการเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการดำเนินงาน จริงในพื้นที่ เจ้าหน้าที่จาก สสจ. , สสอ. แต่ละแห่งมีบุคลากรน้อย และยังไม่มีประสบการณ์ใน การเป็นผู้ประเมิน จึงต้องให้ศูนย์ฯ คอยเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน

11 กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป
LOGO พัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) (ต่อ) กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป ติดตามการสมัครเข้ารับการประเมินของ อปท. วางแผนประเมินรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. - เริ่มประเมินจังหวัดนครนายก ติดตามผลการประเมินรับรองระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ของ อปท. จัดทำฐานข้อมูลด้านการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ของ อปท. ระดับเขต

12 มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย
LOGO มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย เป้าหมายการดำเนินงาน ร้อยละ 100 ของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ. , รพท. , รพช.) มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย ร้อยละ 100 ของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการรายงาน การเดินระบบบำบัดน้ำเสียตามกฎหมายมาตรา 80 โรงพยาบาลในพื้นที่รับผิดชอบศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี จำนวน 33 แห่ง

13 มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ)
LOGO มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ) กิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว ประสานชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่จังหวัดและสำรวจข้อมูลเบื้องต้น จัดอบรม เรื่อง การป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรืออันตราย ที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อแก่ผู้ปฏิบัติงานมูลติดเชื้อในโรงพยาบาล ตรวจประเมินการจัดการมูลฝอยติดเชื้อและการเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ของโรงพยาบาล

14 มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ)
LOGO มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ) ติดตามการดำเนินงานมูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย

15 มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ)
LOGO มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ) ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย จำนวน รพ. ทั้งหมด (แห่ง) ที่ผ่านเกณฑ์ (แห่ง) ร้อยละ ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 100 33 23 70

16 มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ)
LOGO มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ) ผลการดำเนินงาน จำนวน รพ. ทั้งหมด (แห่ง) เผาในเตาเผาขยะติดเชื้อ ของรพ. ส่งให้บริษัทเอกชนกำจัด ใช้เอกสารกำกับการขนส่ง จำนวน ร้อยละ 33 1 3 32 97 26 81

17 มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ)
LOGO มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ) ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย จำนวน รพ. ที่มีการรายงานตาม ม.80 (แห่ง) ร้อยละ ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุขมีการรายงานการเดินระบบบำบัดน้ำเสียตามกฎหมายมาตรา 80 ร้อยละ 100 26 79

18 มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ)
LOGO มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ) ปัญหาที่พบ (มูลฝอยติดเชื้อ) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเก็บรวบรวมและเคลื่อนย้ายมูลฝอยติดเชื้อของ รพ. ยังปฏิบัติไม่ถูกต้องในการป้องกันและระงับการแพร่เชื้อ รพ. ขาดงบประมาณในการพัฒนาระบบการจัดการ เช่น การจัดหาถุงแดงที่มีตรา หรือสัญลักษณ์ตามกฎหมายกำหนด บริษัทที่รับเก็บขนและกำจัด มาดำเนินการล่าช้าไม่เป็นไปตามกำหนด การใช้ระบบ manifest ยังไม่ถูกต้อง และยังใช้ไม่ครอบคลุม รพ. ที่กำจัดเองโดยการเผาในเตาเผา ขาดการตรวจสอบสภาพการใช้งานเตาเผา และการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอากาศปลายปล่อง

19 มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ)
LOGO มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ) ปัญหาที่พบ (ระบบบำบัดน้ำเสีย) ไม่มีเจ้าหน้าที่และคนงานอยู่ประจำระบบ เจ้าหน้าที่ขาดความรู้ความสามารถและไม่มีประสบการณ์ในการเดินระบบ อุปกรณ์ภายในระบบเสื่อมสภาพและชำรุด ขาดการบำรุงดูแลรักษา ยังพบโรงพยาบาลไม่มีการจัดทำรายงานการเดินระบบบำบัดน้ำเสียตาม ม. 80

20 มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ)
LOGO มูลฝอยติดเชื้อ / ระบบบำบัดน้ำเสีย (ต่อ) กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป ติดตามสำรวจสถานที่กำจัดมูลฝอยติดเชื้อ กำกับ ติดตาม การดำเนินงานมูลฝอยติดเชื้อ และระบบบำบัดน้ำเสีย ของโรงพยาบาลที่ยังมีปัญหา จัดทำฐานข้อมูลให้เป็นระบบ

21 โครงการที่ดำเนินการในรอบหกเดือนที่ผ่านมา
LOGO งานสุขาภิบาลอาหาร โครงการที่ดำเนินการในรอบหกเดือนที่ผ่านมา สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ได้มาตรฐานกรมอนามัย ตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย ร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี

22 งานสุขาภิบาลอาหาร (ต่อ)
LOGO งานสุขาภิบาลอาหาร (ต่อ) โครงการสถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ได้มาตรฐานกรมอนามัย จังหวัด จำนวน รพ. ทั้งหมด (แห่ง) จำนวน รพ ที่มีโรงครัว (แห่ง) จำนวน รพ. ที่ได้มาตรฐานกรมอนามัย ระดับดี ร้อยละ ระดับดีมาก สระบุรี 12 9 2 22 7 78 ลพบุรี 11 5 45 6 55 สิงห์บุรี 4 80 1 20 นครนายก 100 - รวม 33 29 15 52 14 48

23 งานสุขาภิบาลอาหาร (ต่อ)
LOGO งานสุขาภิบาลอาหาร (ต่อ) ตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย (ตลาดประเภทที่ 1) จังหวัด จำนวนตลาดประเภทที่ 1 ทั้งหมด (แห่ง) จำนวนตลาดประเภทที่ 1 ที่ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อ ระดับดี(แห่ง) ระดับดีมาก (แห่ง) รวมที่ผ่านเกณฑ์ (แห่ง) ร้อยละ สระบุรี 17 9 5 14 82 ลพบุรี 11 2 13 93 สิงห์บุรี 4 3 1 100 นครนายก รวม 39 26 35  90

24 งานสุขาภิบาลอาหาร (ต่อ)
LOGO งานสุขาภิบาลอาหาร (ต่อ) กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป โครงการพัฒนาต้นแบบด้านสุขาภิบาลอาหาร พัฒนาตลาดนัดน่าซื้อจังหวัดละ 1 แห่ง พัฒนาร้านอาหาร CFGT plus จังหวัดละ 1 แห่ง สุ่มประเมินตลาดประเภทที่ 1 และ 2 (SI 2 และตรวจสารปนเปื้อน 5 ชนิด) กิจกรรมรณรงค์ ลด ละ เลิก ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร

25 พัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค
LOGO พัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค ผลการดำเนินงาน จังหวัด จำนวนตัวอย่างที่เก็บ และผลการวิเคราะห์มาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภค (ตัวอย่าง) รวม น้ำ ประปา ผลการ วิเคราะห์ น้ำตู้หยอดเหรียญ น้ำ ฝน น้ำถัง ลิตร น้ำบ่อตื้น เก็บ ตย. ผ่าน ไม่ผ่าน รอผล สระบุรี 10 ไม่ผ่าน 2/ รอผล 8 3 ผ่าน 2/ รอผล 1 2 ไม่ผ่าน 2 ไม่ผ่าน1/ - 17 5 ลพบุรี 6 รอผล 4 9 ผ่าน 1/ 1 ไม่ผ่าน 1 18 12 สิงห์บุรี 7 ไม่ผ่าน 7 นครนายก ผ่าน 1 8 30 14 4 52 26 22

26 พัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค (ต่อ)
LOGO พัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค (ต่อ) ปัญหาที่พบ อปท. บางแห่งไม่มีการเติมคลอรีน ณ จุดจ่ายน้ำต้นระบบ เนื่องจากไม่มีเครื่องเติม คลอรีน และบางแห่งเครื่องเติมและจ่ายคลอรีนชำรุด โดยใช้การสูบน้ำและจ่ายตรง ไปยังครัวเรือน ตู้น้ำหยอดเหรียญส่วนใหญ่ไม่มีใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535

27 พัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค (ต่อ)
LOGO พัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค (ต่อ) กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป ดำเนินการเก็บตัวอย่างน้ำเพื่อเฝ้าระวังสถานการณ์คุณภาพน้ำ และพัฒนาคุณภาพน้ำ ใน อปท. ให้ครบตามเป้าหมาย 60 ตัวอย่าง (คงเหลือ 8 ตัวอย่าง) สุ่มตรวจเพื่อเฝ้าระวังน้ำประปา ในระบบประปาที่ผ่านการรับรองประปาดื่มได้ ของกรมอนามัยไปแล้ว ด้วยชุดทดสอบ อ.11 ชุดตรวจคลอรีนภาคสนาม และการวัด PH ของน้ำ

28 สถานการณ์และการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพใน อปท.
LOGO สถานการณ์และการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพใน อปท. ผลการดำเนินงาน จังหวัด จำนวน อปท. ทั้งหมด (แห่ง) จำนวน อปท. ที่ส่งแบบสำรวจสถานการณ์ฯ ร้อยละ ที่ อปท ส่งแบบสำรวจ ระดับเทศบาล ระดับ อบต. รวม สระบุรี 38 70 108 20 19 39 36 ลพบุรี 23 102 125 10 46 37 สิงห์บุรี 8 33 41 5 11 16 นครนายก 6 45 2 14 75 244 319 80 117

29 สถานการณ์และการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพใน อปท.
LOGO สถานการณ์และการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพใน อปท. สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป ดำเนินการติดตามข้อมูลแบบสำรวจส่วนที่เหลือ บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมบันทึกข้อมูล สรุปผลเป็นภาพรวมของพื้นที่ จัดส่งข้อมูลให้กรม

30 สถานการณ์ส้วมสาธารณะ
LOGO สถานการณ์ส้วมสาธารณะ ที่ รายการ หน่วย ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี นครนายก ร้อยละ รวมเขต 1 แหล่งท่องเที่ยวเป้าหมาย(100อันดับททท./กรมอุทยานแห่งชาติฯ) แห่ง 4 8 16 - จำนวนแหล่งท่องเที่ยวเป้าหมาย ที่มีส้วมได้มาตรฐานHAS 6 3 81.25% 13 2 สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงเป้าหมาย (6บริษัทหลัก) 34 57 15 7 113 - จำนวนสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงเป้าหมายที่มีส้วม 22 24 9 52.21% 59 ร้านอาหารกลุ่มเป้าหมาย CFGT 107 328 129 23 587 - จำนวนร้านอาหารกลุ่มเป้าหมาย ที่มีส้วมได้มาตรฐานHAS 80 126 106 57.06% 335 ตลาดสดเป้าหมาย (โครงการตลาดสดน่าซื้อ) 17 5 41 - จำนวนตลาดสดเป้าหมายที่มีส้วมได้มาตรฐานHAS 11 63.41% 26 โรงเรียนเป้าหมาย(สังกัดสพฐ.) 351 264 151 143 909 - จำนวนโรงเรียนเป้าหมายที่มีส้วมได้มาตรฐานHAS 228 134 93 120 63.25% 575 โรงพยาบาลเป้าหมาย 12 33 - จำนวนโรงพยาบาลเป้าหมาย ที่มีส้วมได้มาตรฐานHAS 100%

31 สถานการณ์ส้วมสาธารณะ (ต่อ)
LOGO สถานการณ์ส้วมสาธารณะ (ต่อ) ที่ รายการ หน่วย ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี นครนายก ร้อยละ รวมเขต 7 สถานที่ราชการ(ศาลากลาง ที่ว่าการอำเภอ เทศบาล สสจ. สสอ. แห่ง 252 51 67 421 - จำนวนสถานที่ราชการเป้าหมาย ที่มีส้วมได้มาตรฐาน 144 48 60 71.97% 303 8 สถานีขนส่งเป้าหมาย(สถานีขนส่งของกรมการขนส่งทางบก) 4 13 1 19 - จำนวนสถานีขนส่งเป้าหมายที่มีส้วมได้มาตรฐานHAS 2 63.15% 12 9 สวนสาธารณะเป้าหมาย(สวนสาธารณะน่ารื่นรมย์) 3 - จำนวนสวนสาธารณะเป้าหมายที่มีส้วมได้มาตรฐานHAS 75% 10 วัดเป้าหมาย(วัดในสังกัดสำนักพุทธศาสนา) 624 489 182 194 1489 - จำนวนวัดเป้าหมายที่มีส้วมได้มาตรฐานHAS 154 80 93 116 29.75% 443 11 ห้างสรรพสินค้าเป้าหมาย(ห้างสรรพสินค้า/ศูนย์การค้า/ดิส 20 - จำนวนห้างสรรพสินค้าเป้าหมายที่มีส้วมได้มาตรฐานHAS 85% 17 ส้วมในที่ทางสาธารณะอื่นๆ(ส้วมริมทาง)ของอบต.เทศบาล - จำนวนส้วมริมทางที่มีส้วมได้มาตรฐาน 100% สถานีอนามัย (รพสต.) 133 126 47 56 362 - จำนวน(รพสต.)สถานีอนามัยเป้าหมาย ที่มีส้วมได้มาตรฐานHAS 106 115 89.50% 324

32 การจัดการขยะ

33 ปัญหาฝุ่น หน้าพระลาน

34 โครงการอื่นๆ LOGO ลำดับ โครงการ การดำเนินการ หมายเหตุ 1
โครงการอื่นๆ ลำดับ โครงการ การดำเนินการ หมายเหตุ 1 โครงการบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์ - ดำเนินการ 1 พื้นที่ (ตำบลพุกร่าง อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี) - จะจัดประชุมชี้แจงโครงการ และอบรมให้ความรู้ด้านการจัดการมูลฝอยในชุมชน ในวันที่ 1 เมษายน 2558 2 โครงการศึกษาความเสี่ยงเพื่อเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากการจัดการบ่อขยะในพื้นที่วิกฤติ - ศึกษาข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ เพื่อหาความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการดำเนินการจัดการมูลฝอยสะสมตกค้างของเทศบาลตาม road map ของ คสช. - อยู่ระหว่างการเลือกพื้นที่ในการศึกษา เนื่องจากพื้นที่เป้าหมายเดิม (ทม.พระพุทธบาท) อยู่ระหว่างการทำTOR) 3 โครงการส่งเสริมการใช้น้ำฝน เพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย - เก็บตัวอย่างน้ำฝนกลางหาว และสำรวจข้อมูล ทั้งเขตเมืองและชนบท ในพื้นที่ 4 ประเภท ได้แก่ พื้นที่ที่มีการจราจรหนาแน่น พื้นที่ที่มีอุตสาหกรรม พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่อยู่อาศัย - อยู่ระหว่างเสนอโครงการ 4 โครงการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคครัวเรือน และตู้น้ำหยอดเหรียญ - สุ่มเก็บตัวอย่างน้ำบริโภคในพื้นที่เสี่ยง โดยเน้นการเก็บตู้น้ำหยอดเหรียญ

35 กลุ่มงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
Thank You ! กลุ่มงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี


ดาวน์โหลด ppt สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google