งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

2 แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน
หลักสูตร กระบวนการ จัดการเรียนรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การวัดและประเมินผล การทบทวน หลังการปฏิบัติ (AAR)

3 การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
จัดโครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตร (ไม่เปลี่ยนแปลง) ปรับปรุง เนื้อหาภายในแต่ละวิชา โครงสร้างเวลาเรียน ประถมศึกษา โครงสร้างเวลาเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น

4 โครงสร้างเวลาเรียนระดับประถมศึกษา
ปัจจุบัน “ไม่น้อยกว่า” 1,000 ชม./ปี ใหม่ “ไม่เกิน” 1,000 ชม./ปี หมวด 1 กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียน 120ชม./ปี หรือ 3 ชม./ สัปดาห์ กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียน 120ชม./ปี หรือ 3 ชม./ สัปดาห์ กิจรรม หมวด 2 - 4 8 กลุ่มสาระ พื้นฐาน 840 ชม./ปี 8 กลุ่มสาระ พื้นฐาน 840 ชม./ปี เพิ่มเติม 40 ชม./ปี รายวิชา เพิ่มเติมที่ โรงเรียนจัด เรียนในห้องเรียน 22 ชม./สัปดาห์ ชม.ที่เหลือ 8 – 12 ชม./สัปดาห์ เป็นกิจกรรม 4 หมวด (หมวด 1 บังคับ) เรียนจริง 1,200 – 1,400 ชม./ปี หรือ 30 – 35 ชม./สัปดาห์

5 โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ปัจจุบัน “ไม่น้อยกว่า” 1,200 ชม./ปี ใหม่ “ไม่เกิน” 1,200 ชม./ปี กิจกรรม หมวด 2 - 4 หมวด 1 กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียน 120ชม./ปี หรือ 3 ชม./ สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน 120 ชม./ หรือ 3 ชม./ สัปดาห์ 8 กลุ่มสาระ พื้นฐาน 880 ชม./ปี รายวิชา เพิ่มเติมที่ โรงเรียนจัด 8 กลุ่มสาระ พื้นฐาน 880 ชม./ปี รายวิชา เพิ่มเติมที่ โรงเรียนจัด 200 ชม./ปี เรียนในห้องเรียน 27 ชม./สัปดาห์ ชม.ที่เหลือ ชม./สัปดาห์ เป็นกิจกรรม หมวด (บังคับ หมวด 1) เรียนจริง 1,400 ชม./ปี หรือ 35 ชม./สัปดาห์

6 การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
สังกัด สพป. สถานศึกษา สังกัด สพม. กระบวนการ จัดการเรียนรู้ สังกัดอื่น ครู รูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้

7 ประเภท / ขนาดของโรงเรียน
ข้อมูลสถานศึกษา ประเภท / ขนาดของโรงเรียน สพม. สพป. รวม อนุบาลจังหวัด - 79 อนุบาลอำเภอ 428 ใหญ่พิเศษ ( นร.มากกว่า 1,500 คน) 20 15 35 ใหญ่ ( นร ,500 คน) 59 240 299 กลาง (นร คน)) 127 802 929 เล็ก (นร คน) 140 797 937 ขยายโอกาส 899 วัตถุประสงค์พิเศษ 23 ไม่ระบุขนาด 187 202 384 3,447 3,831 ข้อมูล ณ วันที่ 24 กันยายน 2558 เวลา น. จาก สพม. 42 เขต และ สพป เขต

8 การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
สถานศึกษา Long distant Workshop ในระดับพื้นที่ กระบวนการ จัดการเรียนรู้ การพัฒนาบุคลากร ครู Smart Trainer 1 ทีม : 10 รร. 5-7 ต.ค. รูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้

9 การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ปรับสัดส่วนรูปแบบ การเรียนรู้ จากการบรรยาย เป็นจัดวิธีการเรียนรู้เน้นลงมือปฏิบัติ ในรูปแบบอื่น สถานศึกษา กระบวนการ จัดการเรียนรู้ การพัฒนาบุคลากร ครู Smart Trainer 1 ทีม : 10 รร. Coaching Mentoring รูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้

10 กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้”
หมวด กลุ่มกิจกรรม ๑. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมบังคับตามหลักสูตร) ๑. กิจกรรมแนะแนว ๒. กิจกรรมนักเรียน ๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์

11 กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้”
หมวด กลุ่มกิจกรรม ๒. สร้างเสริมสมรรถนะและการเรียนรู้ ๔. พัฒนาความสามารถด้านการสื่อสาร ๕. พัฒนาความสามารถด้านการคิด และการพัฒนากรอบความคิดแบบเปิดกว้าง (Growth Mindset) ๖. พัฒนาความสามารถด้านการแก้ปัญหา ๗. พัฒนาความสามารถด้านการใช้ เทคโนโลยี ๘. พัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่ส่งเสริม การเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้

12 กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้”
หมวด กลุ่มกิจกรรม ๓. สร้างเสริมคุณลักษณะและค่านิยม ๙. ปลูกฝังค่านิยมและจิตสำนึกการทำประโยชน์ต่อสังคม มีจิตสาธารณะและการให้บริการ ด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง และต่อส่วนรวม ๑๐. ปลูกฝังความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ๑๑. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม (มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ อดทน มุ่งมั่นในการทำงาน กตัญญู) ๑๒. ปลูกฝังความรักความภาคภูมิใจ ในความเป็นไทย และหวงแหนสมบัติของชาติ

13 กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้”
หมวด กลุ่มกิจกรรม ๔. สร้างเสริมทักษะการทำงาน การดำรงชีพ และทักษะชีวิต ๑๓. ตอบสนองความสนใจ ความถนัด และ ความต้องการของผู้เรียนตามความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ๑๔. ฝึกการทำงาน ทักษะทางอาชีพ ทรัพย์สินทางปัญญา อยู่อย่างพอเพียง และมีวินัยทางการเงิน ๑๕. พัฒนาความสามารถด้านการใช้ทักษะชีวิต ๑๖. สร้างเสริมสมรรถนะทางกาย

14 กรอบการจัดตารางเรียน

15 กิจกรรมช่วงเวลา “เพิ่มเวลารู้”

16 การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ทางวิชาการ NT , O-NET ไม่มีผลกระทบ การวัด และประเมินผล ความสำเร็จของโครงการ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ระหว่างเทอม ๒ ครั้ง หลังปิดเทอม ๑ ครั้ง

17 การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
สถานศึกษา อาทิตย์ละครั้ง สพท. เดือนละครั้ง การทบทวน หลังการปฏิบัติ (AAR) สพฐ. เทอมละครั้ง ดำเนินการทันทีหลังปิดเทอม ศึกษารูปแบบการจัดการของโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จ เพื่อขยายไปยังโรงเรียนที่เหลือต่อไป รวบรวมปัญหา / ข้อขัดข้อง เพื่อหาทางแก้ไขต่อไป

18 หน่วยงาน / องค์กร หน่วยงาน / องค์กรที่สามารถจัดกิจกรรมร่วมกับสถานศึกษาได้ กระทรวงการท่องเที่ยวฯ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ กระทรวงกลาโหม กระทรวงแรงงาน กระทรวงยุติธรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ฯลฯ โอลิมปิคฯ กลุ่มศิลปิน ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน กรอ.อศ. อปท. CSR ของบริษัทเอกชน ฯลฯ ขอเชิญประชุมผู้แทน หน่วยงาน / องค์กร ในวันจันทร์ที่ 28 ก.ย. 58 เวลา น.

19 ROAD MAP

20 การขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

21 การขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
วัน/เดือน/ปี กิจกรรม ระยะที่ ๑ ก่อนเริ่มดำเนินโครงการ หน่วยงานรับผิดชอบ กิจกรรมที่ ๑ ๒-๕ ก.ย.๕๘ ประชุมปฏิบัติการจัดทำคู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน สวก. กิจกรรมที่ ๒ ๑๔-๑๘ ก.ย.๕๘ ประชุมปฏิบัติการจัดทำคู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ต่อ) ประชุมปฏิบัติการจัดทำแนวทางการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” กิจกรรมที่ ๓ ๒๑-๒๕ ก.ย.๕๘ ประชุมบรรณาธิการกิจคู่มือบริหารจัดการเวลาเรียนและแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”

22 การขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
วัน/เดือน/ปี กิจกรรม ระยะที่ ๑ ก่อนเริ่มดำเนินโครงการ หน่วยงานรับผิดชอบ กิจกรรมที่ ๔ ๒๘ ก.ย.๕๘ ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจให้หน่วยงาน องค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อร่วมจัดกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้” สวก. กิจกรรมที่ ๕ ๒๙ก.ย.-๒ ต.ค.๕๘ ประชุมบรรณาธิการกิจคู่มือบริหารจัดการเวลาเรียนและแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” กิจกรรมที่ ๖ ๒ – ๔ ต.ค. ๕๘ จัดพิมพ์เอกสารคู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

23 การขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
วัน/เดือน/ปี กิจกรรม ระยะที่ ๑ ก่อนเริ่มดำเนินโครงการ หน่วยงานรับผิดชอบ กิจกรรมที่ ๗ ๒ – ๔ ต.ค. ๕๘ จัดทำเอกสารแผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมที่ ๘ ๓๐ก.ย.-๔ ต.ค.๕๘ ประชุมปฏิบัติการพิจารณาความสอดคล้องเชื่อมโยงของตัวชี้วัด ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ลดเนื้อหาแต่ละรายวิชา** ลดความซ้ำซ้อนของตัวชี้วัด** ลดความซ้ำซ้อนของเนื้อหาระหว่างกลุ่มสาระ กิจกรรมที่ ๙ ๕-๗ ต.ค.๕๘ จัดอบรมทีมSmart Trainers ๓๐๐ทีม

24 การขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
วัน/เดือน/ปี กิจกรรม ระยะที่ ๑ ก่อนเริ่มดำเนินโครงการ หน่วยงานรับผิดชอบ กิจกรรมที่ ๑๐ ๑๖ – ๑๗ ต.ค. ๕๘ จัดประชุมชี้แจงสร้างความรู้และความเข้าใจการดำเนินการโครงการ ส่วนกลางประชุมชี้แจงที่ห้องส่งของTOTเพื่อถ่ายทอดไปยังส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค ประชุมชี้แจงทางไกลจากห้องส่งTOTและสัญญาณจากมูลนิธิทางไกลฯ จำนวน ๒๒๕ เขตๆละ๑จุดรวมจุดอบรม ๒๒๕ จุด จำนวน๓,๘๓๑ร.ร.ผู้เข้าอบรม๗,๙๗๓ คน (ไม่นับรวมสถานศึกษาอื่นๆที่เข้าร่วมโครงการ)

25 การขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
วัน/เดือน/ปี กิจกรรม ระยะที่ ๒ การเริ่มดำเนินโครงการ ๒๔ต.ค.-๒๓ ม.ค.๕๙ หน่วยงานรับผิดชอบ กิจกรรมที่ ๑ ภายในวันที่ ๒๐ต.ค.๕๘ การจัดสรรโอนเงินให้สถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ (รอนโยบาย) กิจกรรมที่ ๒ พ.ย.๕๘- มี.ค.๕๙ ๑.การติดตามผลการดำเนินงานระหว่างภาคเรียนที่๒/๒๕๕๘ ระหว่างภาคเรียน ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๑ ภายในพ.ย.๕๘ ครั้งที่ ๒ ภายในมกราคม ๕๙ ๒. การติดตามหลังปิดภาคเรียน ๒/๒๕๕๘ ภายในเดือนมีนาคม ๒๕๕๙

26 การขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
วัน/เดือน/ปี กิจกรรม ระยะที่ ๓ การติตามประเมินผลหลัง การดำเนินโครงการ ๒๔ม.ค.-๒๓ เม.ย.๕๙ หน่วยงานรับผิดชอบ กิจกรรมที่ ๑ ภายในวันที่ ๒๐ต.ค.๕๘ การจัดสรรโอนเงินให้สถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ (รอนโยบาย) กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมAAR ภายในเดือนเม.ย.๕๙

27 การขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
วัน/เดือน/ปี กิจกรรม ระยะที่ ๔ การขยายผลในสถานศึกษาเต็มพื้นที่ ๑๕ พ.ค.๕๙- ๓๐ ก.ย.๕๙ หน่วยงานรับผิดชอบ กิจกรรมที่ ๑ ภายในวันที่ ๒๐เม.ย.๕๙ การจัดสรรโอนเงินให้สถานศึกษาทั่วไป (รอนโยบาย) กิจกรรมที่ ๒ ภายใน ก.ย.๕๙ กิจกรรมAAR กิจกรรมที่ ๓ ก.ย. ๕๙ สรุปรายงานผลและเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณชน

28 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google