งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

2 1 2 3 4 5 6 แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ให้ความสำคัญกับการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ที่สอดคล้องตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 1 2 ให้มีการจัดทำข้อเสนองบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ เบื้องต้น ให้มีการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยนำข้อเสนองบประมาณลำดับที่ 1 และ 2 มาประกอบการพิจารณา 3 ให้มีการกำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม และตัวชี้วัดผลสำเร็จ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความชัดเจน 4 ให้มีการจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่ชัดเจน 5 ให้มีการบูรณาการงบประมาณในมิติพื้นที่ (Area) โดยส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น บูรณาการการจัดทำงบประมาณร่วมกับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 6

3 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
โครงสร้างแผนงานตามยุทธศาสตร์ เพื่อการจัดการงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ กำหนดขึ้นภายใต้ ร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ – 2577) ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ – 2564) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ – 2559) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ – 2564) และ นโยบายสำคัญของรัฐบาล การจัดการงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กำหนดให้สามารถแสดงค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานได้ 3 ส่วน ประกอบด้วย รายจ่ายบุคลากรภาครัฐ (แผนงานบุคลากรภาครัฐ) รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน (แผนงานพื้นฐาน) รายจ่ายตามภารกิจยุทธศาสตร์ (แผนงานยุทธศาสตร์) แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานบูรณาการ

4 กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
“ยั่งยืน” “มั่นคง” ความมั่นคง 1 2 3 4 5 6 การสร้าง ความสามารถ ในการแข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม การสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ “มั่งคั่ง” เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นำไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข และตอบสนองตอบต่อการบรรลุ ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูง เป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ

5 ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
ครม. มีมติเมื่อวันที่ 22 ธ.ค เห็นชอบทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ตามที่สำนักงานฯ เสนอ โดยมี ความเห็นเพิ่มเติมว่าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และมีการแปลงยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวเป็นแผนงาน/โครงการ ในช่วง 5 ปี โดยระบุแผนปฏิบัติการ และกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จที่เป็นรูปธรรม รวมทั้งให้มีการประเมินผลของการดำเนินงานทุกรอบ 1 ปี และ 5 ปี พ.ศ. 2579 2558 ยุทธศาสตร์ ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ ด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้าน การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและ เท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ด้าน การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 2561 2562 2563 2564 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จะสอดรับกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว 20 ปี ในลักษณะของการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ ระยะยาวลงสู่การปฏิบัติในช่วงเวลา 5 ปี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ )

6 6-6-4 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สู่ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่12

7 ความเชื่อมโยงเป้าหมายกระทรวง/หน่วยงานกับแผนฯ 12
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช แผนฯ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมาย การรักษาและฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มพื้นที่ป่าไม้เป็นร้อยละ 40 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม สัดส่วนพื้นที่ป่าไม้ของประเทศ พื้นที่ปลูกและฟื้นฟูป่าพื้นที่ป่าชายเลน จำนวนชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิติที่ใกล้สูญพันธุ์ หรืออยู่ในภาวะคุกคาม การจัดทำแนวเขตที่ดินของรัฐ (One Map) สัดส่วนของขยะมูลฝอยชุมชนได้รับการจัดการอย่างถูกต้องฯ คุณภาพน้ำผิวดินที่อยู่ในเกณฑ์ดี คุณภาพอากาศในพื้นที่วิกฤตหมอกควัน ตัวชี้วัดแผน 12 เป้าหมายกระทรวง รักษา ฟื้นฟูและจัดการการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ จัดการสิ่งแวดล้อมและลดมลพิษ พื้นที่ป่าไม้ได้รับการรักษา ล้านไร่ พื้นที่ป่าไม้ที่ทวงคืนได้ 140,000 ไร่ พื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึ้น 150,000 ไร่ ส่งเสริมการปลูกป่าเศรษฐกิจ 15,050 ไร่ จำนวนชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่ใกล้สูญพันธุ์หรืออยู่ในภาวะคุกคาม ได้รับการอนุรักษ์คุ้มครอง 20 ชนิด กำหนดแหล่งแร่เพื่อใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 4 ชนิด จัดหาที่ดินให้ผู้ยากไร้ 304,248 ไร่ แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 249 แห่ง ขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่างถูกต้องจำนวน 14.7 ล้าน ตัน คุณภาพน้ำผิวดินอยู่ในระดับดี 49 แหล่งน้ำ คุณภาพอากาศในพื้นที่วิกฤตหมอกควันอยู่ในระดับ มาตรฐานร้อยละ 85 คุณภาพอากาศในพื้นที่วิกฤตดีขึ้น ประชากรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม 6,000,000 คน ตัวชี้วัด เป้ากระทรวง เป้าหมายหน่วยงาน อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า จัดการขยะและลดมลพิษหมอกควันจากไฟป่า พื้นที่ป่าไม้ได้รับการรักษา ล้านไร่ จำนวนชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่ใกล้สูญพันธุ์หรืออยู่ในภาวะคุกคาม ได้รับการอนุรักษ์คุ้มครอง 13 ชนิด พื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึ้น 56,000 ไร่ (เป็นเงินนอก จำนวน 27,000 ไร่ ) พื้นที่ป่าไม้ที่ทวงคืนได้ 35,000 ไร่ แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์ได้รับการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวอย่างเหมาะสม 243 แห่ง อุทยานแห่งชาติทางทะเลมีการบริหารจัดการขยะและของเสียอย่างมีระบบ 156 ตัน มีเครือข่ายการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จำนวน 1,370 เครือข่าย ตัวชี้วัด

8 ตัวชี้วัด ผลผลิต/โครงการ 1. แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
- บริการด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ แห่ง 2. องค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ป่าไม้และสัตว์ป่า - จำนวนงานวิจัยด้านการอนุรักษ์ป่าไม้และสัตว์ป่า 22 โครงการ - จำนวนข้อมูลที่บันทึกในฐานข้อมูล 100 รายการ - ให้บริการและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ป่าไม้และสัตว์ป่า 1,620 ครั้ง 3. โครงการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่เป็นมรดกโลก มรดกแห่งอาเซียนฯ - บริหารจัดการและดูแลทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่มรดกโลกและ มรดกอาเซียน 4 แนว 4. พื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการบริหารจัดการ - พื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการบริหารจัดการ 73 ล้านไร่ 5. ฐานข้อมูลพื้นที่ป่าอนุรักษ์ - จำนวนชั้นข้อมูลที่สามารถนำไปใช้เพื่อการบริหาร จัดการพื้นที่ป่า อนุรักษ์ 5 ชั้น 6. โครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคป่าไม้ฯ - มีชุมชนต้นแบบนำร่องในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ยั่งยืน เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาคป่าไม้ 8 ชุมชน 7. โครงการศูนย์ข้อมูลติดตามการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าและเตือนภัยพิบัติ ในพื้นที่อนุรักษ์ (ระยะที่ 2) - ติดตามการบุกรุกทำลายพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ไม่น้อยกว่า 1,200 จุด - ประมวลผลการเปลี่ยนแปลงอันก่อให้เกิดภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้นบนพื้นที่ อนุรักษ์ได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการรายงานผ่านระบบ ไม่น้อยกว่า 208 ครั้ง 8. โครงการรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ - จำนวนชุมชนที่มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 100 หมู่บ้าน - จำนวนแปลงที่ดินที่สามารถทำการตรวจสอบพิสูจน์การครอบครองที่ดิน 10,000 แปลง - ปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาแนวเขตพื้นที่อนุรักษ์ 4,000 ระวาง - พื้นที่ต้นน้ำในลุ่มน้ำขนาดเล็กที่วิกฤตได้รับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 100 ลุ่มน้ำ(ขนาดเล็ก) - จำนวนหน่วยงานที่ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการงาช้างแห่ง ประเทศไทยได้รับการจัดการ 22 ศูนย์ - จำนวนหมู่ดับไฟป่าเคลื่อนที่ได้รับการจัดตั้งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการดับไฟป่า 20 หมู่ - จำนวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ได้มีการติดตามแก้ไขปัญหาช้างป่าและ สัตว์ป่าที่สร้างผลกระทบต่อราษฎรนอกพื้นที่อนุรักษ์ 38 แห่ง - พื้นที่อนุรักษ์ที่เสื่อมสภาพได้รับการฟื้นฟู 18,500 ไร่ - ทรัพยากรปะการังในอุทยานแห่งชาติได้รับการคุ้มครอง 48,212 ไร่ - จำนวนหน่วยพิทักษ์ป่าและจุดสกัดที่ได้รับการจัดตั้งเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการคุ้มครองพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 20/35 หน่วย/จุด 9. โครงการเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (บูรณาการ) - เพิ่มศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จำนวน 9 แห่ง 10. โครงการฟื้นฟูพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (ลุ่มน้ำ) ระยะที่ 1 (บูรณาการ) - ฟื้นฟูพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (ลุ่มน้ำ) ระยะที่ 1 จำนวน 10,000 ไร่ 1. โครงการขยะแบบองค์รวมในพื้นที่อุทยานแห่งชาติทางทะเล (บูรณาการ) - อุทยานแห่งชาติทางทะเลมีการบริหารจัดการขยะและ ของเสียอย่างมีระบบ 156 ตัน 2. โครงการเสริมสร้างความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาไฟป่า และหมอกควัน - มีเครือข่ายการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จำนวน 1,370 เครือข่าย ผลผลิต/โครงการ ตัวชี้วัด งบประมาณ 5, ล้านบาท ล้านบาท งบประมาณรวม 10, ล้านบาท ซึ่งอยู่ในยุทธศาสตร์ที่ 4 จำนวน 5, ล้านบาท และแผนงานบุคลากรภาครัฐ 5, ล้านบาท หมายเหตุ

9 สรุปงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช งบประมาณกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 10, ล้านบาท 1. แผนงานบุคลากร 5, ล้านบาท 2. แผนงานพื้นฐาน 4, ล้านบาท แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ล้านบาท แผนงานพื้นฐานด้านการจัดการน้ำและสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 4, ล้านบาท 3. แผนงานยุทธศาสตร์ 1, ล้านบาท แผนงานอนุรักษ์ ฟื้นฟู และป้องกันทรัพยากรธรรมชาติ 1, ล้านบาท 4. แผนงานบูรณาการ ล้านบาท แผนงานบูรณาการจัดการทรัพยากรน้ำ ล้านบาท แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ล้านบาท แผนบูรณาการเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ ล้านบาท

10 ขอขอบคุณ สภาปี57


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google