คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

แผนงาน ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาค การเกษตร ผลผลิตที่ 3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาการ ดำเนินธุรกิจ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ.
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
NKM 4 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ณ 31 พฤษภาคม
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การฝึกปฏิบัติการตรวจประเมิน รายงานการประเมินตนเองของสหกรณ์
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การจัดทำงบประมาณ/โครงการ
ตัวอย่าง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สรุปผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2557 ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2557
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ติดตามผลการปฏิบัติงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการนำเสนอข้อมูลต่อ รวอ. ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ผลการปฏิบัติงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
หน่วยงานเจ้าภาพหลัก : กษ. (สศก. ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง:
การจัดการความรู้ Knowledge Management
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การดำเนินงานต่อไป.
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ การจัดทำยุทธศาสตร์ กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ ตุลาคม 2559

การจัดทำยุทธศาสตร์ กฟก. ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)

แผนยุทธศาสตร์ กฟก. 20 ปี ต.ค. 64 ต.ค. 69 ต.ค. 74 ต.ค. 79 แผนยุทธฯ 60-64 แผนยุทธ์ 65-69 แผนยุทธ์ 70-74 แผนยุทธ์ 75-79

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สู่ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สู่ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12

ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ชาติกับแผนในระดับต่างๆ ยุทธศาสตร์ กฟก. 20 ปี 2560-2579 แผนยุทธศาสตร์ กฟก. 5 ปี 2560-2564 แผนปฏิบัติการ กฟก. ประจำปี 2560

แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง

วิสัยทัศน์ กองทุนฟื้นฟู เป็นองค์กรที่มีความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มีเกษตรกรเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา โดยส่งเสริมกระบวนการพัฒนาองค์กรเกษตรกรให้เข้มแข็ง รวมกันเป็นเครือข่าย จัดการหนี้ของเกษตรกรในระดับองค์กรโดยการบริหารจัดการสำนักงานตามหลักธรรมาภิบาล พันธกิจ กองทุนฟื้นฟู 1. ส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของเกษตรกรในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการแก้ไขปัญหาของเกษตรกร 2. ส่งเสริมสนับสนุนการฟื้นฟูและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมของเกษตรกร 3. พัฒนาความรู้ในด้านการเกษตรกรรม หรือกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรม เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่องค์กรเกษตรกร 4. พัฒนาศักยภาพในการพึ่งตนเองและเกื้อกูลซึ่งกันและกันระหว่างเกษตรกร

การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ระดับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) 2.2 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ (3) ส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยให้กลับไปสู่รูปแบบเกษตรยั่งยืน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและรวมกลุ่มเกษตรกรในการพัฒนาอาชีพที่เข้มแข็ง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแช่งขัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับ 12 พ.ศ. 2560-2564 1. ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำฯ 1.5 สัดส่วนหนี้สินต่อรายได้ครัวเรือนฯ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เป้าหมายแผนบูรณาการ 1.เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีความสุขและมีรายได้เพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร 3. พัฒนาความรู้ในด้านการเกษตรกรรรม เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่องค์กรเกษตรกร 4. พัฒนาศักยภาพในการพึ่งพาตนเองและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน 1. ส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของเกษตรกรในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. ส่งเสริมสนับสนุนการฟื้นฟูและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ยุทธศาสตร์กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร 5 ปี พ.ศ. 2560-2564 ยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริม สนับสนุน กระบวนการพัฒนา องค์กรเกษตรกรให้เข้มแข็ง และรวมกันเป็นเครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการหนี้ของเกษตรกรในระดับองค์กร ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบการบริหารจัดการสำนักงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารการตลาด

นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) 2.2 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ (3) ส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยให้กลับไปสู่รูปแบบเกษตรยั่งยืน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและรวมกลุ่มเกษตรกรในการพัฒนาอาชีพที่เข้มแข็ง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแช่งขัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับ 12 พ.ศ. 2560-2564 1. ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำฯ 1.5 สัดส่วนหนี้สินต่อรายได้ครัวเรือนฯ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เป้าหมายแผนบูรณาการ 1.เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีความสุขและมีรายได้เพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร 3. พัฒนาความรู้ในด้านการเกษตรกรรรม เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่องค์กรเกษตรกร 4. พัฒนาศักยภาพในการพึ่งพาตนเองและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน 1. ส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของเกษตรกรในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. ส่งเสริมสนับสนุนการฟื้นฟูและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม (ร่าง) ยุทธศาสตร์กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร พ.ศ. 2560 ยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริม สนับสนุน กระบวนการพัฒนา องค์กรเกษตรกรให้เข้มแข็ง และรวมกันเป็นเครือข่าย (84 ล้านบาท) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการหนี้ของเกษตรกรในระดับองค์กร (271 ล้านบาท) ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบการบริหารจัดการสำนักงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารการตลาด ตัวชี้วัด 1.2.1.1 จำนวนประชาชนผู้ประกอบการ กลุ่มอาชีพ องค์กรเกษตรกร สหกรณ์ สามารถเข้าถึงแหล่งทุนดอกเบี้ยต่ำ (420 องค์กร) ตัวชี้วัด 1.2.1.2 จำนวนประชาชนเกษตรกร และผู้ยากจนที่สามารถแก้ปัญหาหนี้สิน 2,400 ราย