e e -Learning Electronic Learning
E-Learning การนำเอาเทคโนโลยีเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วยในการเรียนการสอน การถ่ายทอดความรู้ การอบรม การทดสอบและประเมินผลผ่านเว็บเพจ
การเรียนแบบ e-Learning เป็นอย่างไร? การศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Internet หรือ Intranet เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถ และความสนใจของตน เนื้อหาของบทเรียน ประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียงวิดีโอ และมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser
การเรียนรู้ผ่านเว็บ www.thaiwbi.com
บทเรียน “คอมพิวเตอร์เบื้องต้น”
เลือกทำ “Pretest”
เลือกทำ “Posttest”
ลักษณะสำคัญของ e-Learning เรียนได้ทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา การใช้สื่อประสม สามารถเลือกเรียนได้ตามต้องการ สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ มีเครื่องวัดผลการเรียน
สรุป e-Learning คืออะไร? e-Learning คือ กระบวนการการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) และสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่เหมาะสม ซึ่งช่วยลดข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความต้องการและความจำเป็นของตนได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
CAI แตกต่างอย่างไรกับ WBI Computer Assisted Instruction Web Based Instruction OFF LINE ON LINE เรียนคนเดียว หลายคนพร้อมกัน ปฏิสัมพันธ์กับเครื่อง ปฏิสัมพันธ์ทั้งเครื่องและคน ติดต่อไม่ได้ในทันที ติดต่อได้ทันที ข้อมูลเฉพาะที่มีให้/ไม่มีการ update Authorware,Flash ข้อมูลมีทั่วโลก/update ตลอดเวลา
ประโยชน์ของ e-Learning - สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา - สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง - กำหนดความต้องการในการเรียนรู้ได้ - ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียน/ผู้สอนได้ - ประหยัดงบประมาณ ราคาถูกและใช้งานได้ง่าย - ใช้เป็นสื่อหลัก/สื่อเสริมก็ได้
ข้อพึงระวัง ผู้สอนที่ไปใช้ในลักษณะของสื่อเสริม โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนเลย ผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ (Impart) เนื้อหาแก่ ผู้เรียน มาเป็น (Facilitator) ผู้ช่วยเหลือ การลงทุนในด้านของ E-Learning ต้องครอบคลุมถึงการจัดการ การออกแบบ E-Learning ที่ไม่เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน
ทีมพัฒนา ผู้สอน programmer ผู้เชี่ยวชาญสื่อ นักออกแบบการสอน นักออกแบบกราฟฟิค
องค์ประกอบของระบบ e-Learning 1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. ระบบเครือข่าย 3. สื่อการสอน 4. การติดต่อสื่อสาร 6. ผู้เรียน 5. บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 7. แหล่งเรียนรู้
ความรู้เบื้องต้นสำหรับผู้สร้าง e-Learning Computer Literacy HTML Internet /Browser e-mail
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาเนื้อหาบทเรียน e-Learning Forecasting Planning Executing Gathering Reporting Follow-up Analysis Development Implementation Evaluation Design
ขั้นตอนการเรียนจากบทเรียนสำเร็จรูป ขั้นกระบวน การเรียนรู้ ขั้นสะท้อนความคิด ขั้นนำ อ่านวัตถุประสงค์ ทำกิจกรรม บททบทวน ข้อสอบ เนื้อหาใหม่ เนื้อหาเก่า
การจัดโครงสร้างเนื้อหา xxx yyy image Chapter-3 Chapter-1 Chapter-2 165432 ง่ายต่อการแก้ไข ใช้ทรัพยากรร่วมกัน เป็นหมวดหมู่
แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท การสร้างบทเรียน หน้าแรก สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ n จุดประสงค์การเรียน จุดประสงค์การเรียน จุดประสงค์การเรียน คำสั่ง/ใบกิจกรรม คำสั่ง/ใบกิจกรรม คำสั่ง/ใบกิจกรรม เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท
การพัฒนาเว็บเพจ ใช้โปรแกรมสร้างเอกสารเว็บ (Web Generator) เช่นโปรแกรม Microsoft Office 2000, Macromedia Dreamweaver ไม่ต้องศึกษาภาษา HTML จุดด้อยคือ โปรแกรมจะไม่รู้จักคำสั่ง HTML ใหม่ๆ
LMS คืออะไร LMS ย่อมาจาก Learning Management System เครื่องมือบริหารและเว็บไซต์สำเร็จรูป LMS เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการเรียน การสอนผ่านเว็บ ประกอบด้วยเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ดูแลระบบ โดยผู้สอนสามารถนำเนื้อหาและสื่อการสอนใส่ไว้ในโปรแกรมได้สะดวก ผู้เรียนและผู้สอนสามารถใช้เครื่องมือสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ได้ ทุกองค์ประกอบ การเก็บบันทึกข้อมูล กิจกรรมการเรียนของผู้เรียนไว้บนระบบเพื่อผู้สอนสามารถนำไปวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อดีของการใช้ LMS สามารถให้ความใส่ใจกับเนื้อหาได้อย่างเต็มที่ การควบคุมการนำเสนอบทเรียน แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ สามารถทำได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องใช้โปรแกรมยุ่งยาก การพัฒนาระบบ LMS ต้องอาศัยทีมงานในการออกแบบระบบให้สอดคล้องกับความต้องการของสถาบัน งบประมาณที่มีอยู่ให้เหมาะสมกับหน่วยงาน
ส่วนประกอบระบบ LMS ส่วนเนื้อหาในบทเรียน (Lecture and Presentation) ส่วนของการทดสอบในบทเรียน (Testing) ส่วนของการพูดคุยในห้องสนทนา (Chat) กระดานข่าว (Web board) ส่วนของการติดต่อผ่าน E-mal ส่วนสนับสนุนการเรียนการสอน การลงทะเบียนของผู้เรียน การบันทึกคะแนนของผู้เรียน การรับ-ส่งงานของผู้เรียน การเรียกดูสถิติของการเข้าเรียน
ตัวอย่างของ LMS เว็บไซต์ Click2learn : LMS เป็นระบบสำหรับนำทางและจัดการเกี่ยวกับบทเรียนทั้งหมด ทั้งความต้องการและกิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น CISCO e-Learning Solutions : LMS เป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของ e-Learning ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกอบรมตามประสบการณ์ของตนเอง ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่จัดการรายการต่าง ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบ นับตั้งแต่การลงทะเบียน การสืบท่อง (Navigation) การเลือกบทเรียน และการต่อเชื่อมเข้าระบบ
ตัวอย่างของ LMS BlackBoard WebCT Atutor Moodle LearnSquare
LMS: BlackBoard (http://www. blackboard
LMS: WebCT ( http://www.webct.com/exemplary)
LCMS: Atutor (www.atutor.ca) Open Source พัฒนาขึ้นโดย ATRC (The Adaptive Technology Resource Center) ที่มหาวิทยาลัยโทรอนโท ประเทศแคนาดา ระบบนี้พัฒนาขึ้นโดยอาศัยระบบและเทคโนโลยีที่เป็นแบบ open source ทั้งสิ้น ดังนั้นในการนำไปใช้งานจึงไม่มีค่าใช้จ่ายในเรื่องซอฟต์แวร์ใดๆ นอกจากนั้น กลุ่มผู้พัฒนาได้จัดเตรียมแผนการพัฒนาปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่อง และจัดให้มีระบบสนับสนุนและช่วยเหลือไว้เพื่อสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบ Demo: http://www.atutor.ca/atutor/demo.php
LMS: Moodle (http://moodle.org/) Open Source คู่มือ: http://www.thaiall.com/e-learning/moodle.htm Demo: http://moodle.org
LMS: LearnSquare (http://www.learnsquare.com) Open Source LMS: LearnSquare (http://www.learnsquare.com)
ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS KMITNB RMS (Registration Management System) for Virtual University
ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS ขั้นที่ 5 เลือกปีการศึกษา
ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS
ประเภทของ LMS ปัจจุบันมี Software สำหรับ LMS หลายประเภท คือ Commercial Software : เชิงพาณิชย์ เช่น WebCT, Blackboard, Lotus Note Learning Space. University Based Software : สถาบันการศึกษา เช่น MaxLearn (KU),Chula E-Learning System (Chula ELS), Education Sphere (RU) Shareware : ไม่เสียค่าใช้จ่าย เช่น Moodle, ATutor, Claroline, VClass
ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS Content Management System (CMS) : หมายถึงระบบการจัดการด้านเนื้อหา ซึ่งเป็นส่วนบริการสำหรับผู้ออกแบบหรือผู้พัฒนาบทเรียนในการสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาบทเรียน( เครื่องมือบริหารจัดการเนื้อหาบทเรียนรูปแบบอีเลิร์นนิ่ง ) เนื้อหา ส่วนของการลงทะเบียน การรวบรวม การจัดการเนื้อหา การนำส่งเนื้อหา การพิมพ์เป็นเอกสาร หรือการบันทึกลงซีดีรอม
ตัวอย่างซอฟแวร์และเว็บไซต์ CMS Software/Web Opensource Postnuke/thainuke>> www.postnukethai.com Mambo>> www.mambohub.com XOOPS>> www.cmsthailand.com/xoops
ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS
ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS
ส่วนประกอบของ e-Learning Delivery Management System (DMS) หมายถึง ระบบการจัดการด้านการนำส่ง ซึ่งเป็นการนำส่งบทเรียนไปยังผู้เรียนได้ศึกษาตามวัตถุประสงค์ การนำส่งบทเรียนจึงรวมถึง การจัดการบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพิมพ์เป็นเอกสารสำหรับผู้เรียน การบันทึกลงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การนำส่งบทเรียนในรูปแบบอื่น ๆ ไปยังผู้เรียน
ส่วนประกอบของ e-Learning : DMS
ส่วนประกอบของ e-Learning : TMS Test Management System (TMS) : หมายถึง ระบบการจัดการด้านการทดสอบ การนำข้อสอบเข้าสู่ระบบ การดำเนินการสอบให้กับผู้เรียน การประเมินผลความก้าวหน้าของผู้เรียนในระบบ e-Learning
ส่วนประกอบของ e-Learning : TMS
การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย
การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย
การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย
การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย
แนวโนมของ e-Learning ตัวอยางแนวโนมของเทคโนโลยีที่นําเขามาใชรวมกับสื่อชนิดนี้คือ เทคโนโลยี Multimedia ระบบวีดิทัศนตามอัธยาศัย(Video On - Demand) Streaming Media รูปแบบของภาพกราฟกจะเปน 3 มิติ การสร้างสถานการณจําลอง(Simulator) มีการนําเอาเทคโนโลยีของโทรศัพทมือถือมาใชในการนําเสนอสื่อชนิดนี้มากยิ่งขึ้น
M-Learning
10 อันดับเว็บไซต์ทำอีเลิร์นนิ่งของโลก eLearners.com Thomson Education Direct SmartForce CyberU Digital Think KnowledgeNet NewHorizons Learn2.com elementk.com SmartPlanet.com
Learn Square http://www.nectec.or.th Learn Square คือ ระบบ e-learning ที่พัฒนาโดยศูนย์เทคโนโลยีอีเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เป็นระบบบริหารเรียนรู้ออนไลน์ที่ผ่านระบบคอมพิวเตอร์โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัยทุกที่ ทุกเวลา ในรูปแบบสื่อมัลติมีเดีย http://www.nectec.or.th
LMS : LearnSquare ติดตั้ง LMS LearnSquare 1. ติดตั้ง Appserve 2.8 เพื่อจำลองเครื่องเป็น server 2. ติดตั้ง Learnsquare
บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง............... การพัฒนาอีเลิร์นนิ่ง วิชา..............เรื่อง.................... บทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง.............. การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง......................... 1.ออกแบบหน่วยการเรียน 1 หัวข้อ 2.บอกวัตถุประสงค์ 3.บอกเนื้อหา 4.ออกแบบทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน 5 ข้อ 5.เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาบทเรียนฯ 6.วิธีการพัฒนา ใช้ทฤษฎีการออกแบบใด ของใคร มีกี่ขั้น อะไรบ้าง