ชื่อผลงานวิจัย การบริหารงานวิชาการ ตามความคิดเห็นของ ครูผู้สอนใน วิทยาลัย เทคโนโลยีสยาม บริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางสาวมุกดาวรรณ รักสัตย์มั่น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

การใช้เทคโนโลยีในการศึกษา นับว่ามีบทบาทสำคัญในการ ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้วย วิวัฒนาการและการพัฒนาทางการศึกษาที่ไม่หยุดยั้งนี้เอง.
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)

ด้านบริหารงานวิชาการ ฉบับปรับปรุง มิถุนายน 2554
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทาง การศึกษาทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การนำเสนอผลงานการวิจัย
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
วิทยาลัยเทคโนโลยีเกษมสันต์บริหารธุรกิจ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อผลงานวิจัย การบริหารงานวิชาการ ตามความคิดเห็นของ ครูผู้สอนใน วิทยาลัย เทคโนโลยีสยาม บริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางสาวมุกดาวรรณ รักสัตย์มั่น

ความสำคัญและความเป็นมาของปัญหา โดยทั่วไปการบริหารงานในสถานศึกษาถือว่าการ บริหารงานวิชาการเป็นงานหลักและสำคัญยิ่งของสถานศึกษา ซึ่ง การบริหารงานวิชาการนี้ ถือเป็นเครื่องชี้วัดความสำเร็จและ ความสามารถในการบริหารโรงเรียน งานวิชาการนั้นถือเป็นหัวใจ ของโรงเรียนเป็นชีวิตจิตใจของโรงเรียน ส่วนงานด้านอื่นๆถือ เป็นปัจจัยสนับสนุนที่จะทำให้ชีวิตของโรงเรียนดำเนินไปด้วย ความราบรื่น ดังนั้นด้านคุณภาพของการศึกษาจะมีผลสัมฤทธิ์เป็น อย่างไรย่อมขึ้นอยู่กับการบริหารงานวิชาการเป็นหลัก ( เฉลิมชัย อิ่มมาก : 5) การบริหารงานวิชาการนับว่าเป็นเรื่องที่ กว้างขวางครอบคลุมงานในโรงเรียนเกือบทั้งหมด การ บริหารงานวิชาการจึงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากคณะครู อาจารย์ และบุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียน การบริหารงาน วิชาการในโรงเรียนถือเป็นภารกิจที่ผู้บริหารโรงเรียนจะเป็น ผู้รับผิดชอบเพียงผู้เดียวไม่ได้ ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องทำหน้าที่ คอยกระตุ้นและส่งเสริมให้คณะครูอาจารย์ร่วมมือกันมี ความสามารถจัดระเบียบการบริหาร รู้จักจัดหน่วยงาน รู้จักเลือก คน เพื่อมอบอำนาจหน้าที่ให้คนปฏิบัติงานได้ถูกต้องและ เหมาะสม เพื่อให้เกิดคุณภาพทางการศึกษา มีความสามารถด้าน ความรู้ ความคิดหรือคุณลักษณะทุกทาง เพื่อให้มีศักยภาพ พื้นฐานในการประกอบอาชีพและศึกษาต่อ

ความสำคัญและความเป็นมาของปัญหา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี มีหน้าที่ จัดการศึกษาของวิทยาลัยให้ มีคุณภาพ ครูผู้สอนเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถและเห็น ความสำคัญกับ การบริหารงานวิชาการ มากกว่างานอื่น ๆ เน้นการพัฒนาให้เกิดขึ้นโดยตรงกับนักเรียน มีเป้าหมายสูงสุดอยู่ที่จะพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาที่สังคมไทยต้องการ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษา การบริหารงาน วิชาการตามความคิดเห็นของครูผู้สอนในวิทยาลัยเทคโนโลยี สยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี เพื่อเป็นข้อมูลในการหาแนว ทางแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงานวิชาการ ตลอดจน เป็นแนวทางในการปรับปรุง เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของการจัด การศึกษาต่อไป

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการตามความ คิดเห็นของครูผู้สอนในวิทยาลัยเทคโนโลยี สยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้ข้อมูลในการบริหารงานวิชาการเพื่อนำมาปรับปรุง ข้อบกพร่องให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและส่งผลให้นักเรียนมี คุณภาพ

ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ วุฒิการศึกษา ตำแหน่งปัจจุบัน ประสบการณ์ในการ สอน การบริหารงานวิชาการตาม ขอบข่ายการบริหารงาน วิชาการ 6 ด้าน ได้แก่ 1. นโยบายและการ วางแผนงาน วิชาการ 2. หลักสูตรและการนำ หลักสูตรไปใช้ 3. การจัดการเรียนการสอน 4. การวัดผลประเมินผล 5. การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการศึกษาและ แหล่งเรียนรู้ 6. การนิเทศการศึกษา กรอบแนวคิดใน การวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

ประชากร / กลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ ครูผู้สอนในวิทยาลัย เทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี จำนวน 112 คน

การบริหารงานวิชาการ μσ ระดับ ความ คิดเห็น 1. ด้านนโยบายและการวางแผน งานวิชาการ มาก 2. ด้านหลักสูตรและการนำ หลักสูตรไปใช้ มาก 3. ด้านการจัดการเรียนการสอน มาก 4. ด้านการวัดผลและประเมินผล มาก 5. ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาและ แหล่งเรียนรู้ มาก 6. ด้านการนิเทศการศึกษา มาก รวม มาก ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์การบริหารงานวิชาการตามความคิดเห็นของ ครู วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ภาพรวม

ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 ด้านนโยบายและการวางแผนงานวิชาการ ควร มีการกำหนดสายงานการบริหารงานวิชาการที่ชัดเจน 1.2 ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ควร เปิดโอกาสให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน 1.3 ด้านการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนควรมี ความรู้ความสามารถในการนำนวัตกรรมการสอนและ เทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น

ข้อเสนอแนะ 1.4 ด้านการวัดผลและประเมินผล ควรมีการนำผล การประเมินก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียนมา ปรับปรุงการเรียนการสอน 1.5 ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ ควรมีการสรรหาเจ้าหน้าที่ ที่มีความรู้ ความสามารถ สำหรับให้บริการและให้ คำปรึกษาแก่ครูในการผลิตและใช้สื่อประกอบการเรียน การสอน 1.6 ด้านการนิเทศการศึกษา ควรมีการสร้างสื่อหรือ เครื่องมือในการนิเทศที่หลายหลายรูปแบบ

ข้อเสนอแนะ 2. ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาการ บริหารงานวิชาการตามความคิดเห็นของครูผู้สอน ซึ่งเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งอาจได้ข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ในการวิจัยครั้งต่อไป จึงควรศึกษาวิจัยในเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ สังเกต เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น