คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นพ.มรุต จิรเศรษฐสิริ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 10
ประเด็นการตรวจกระบวนการKPI กระทรวง 1. ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2. ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2. ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ บริการ: คลินิกเสริมความ งาม ผลิตภัณฑ์: จัดการปัญหา โฆษณา อาหาร: น้ำ น้ำแข็ง นมโรงเรียน ขยะติดเชื้อใน โรงพยาบาล ขยะมูลฝอยทั่วไป การบังคับใช้กฎหมาย การควบคุมกำกับ การดำเนินกี่ทางคดี การดำเนินงานของคณะ อนุกรรมคุ้มครองผู้บริโภค ระดับจังหวัด/เขต กลไกการดำเนินงานของ อสธจ. 14. ความสำเร็จของ การดำเนินงานคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์ สุขภาพและบริการ 17. ร้อยละ 50 ของ จังหวัดมีระบบการ จัดการปัจจัยเสี่ยงและ สุขภาพในระดับดี 16. มีเครือข่ายนัก กฎหมายที่เข้มแข็งและ บังคับใช้กฎหมายใน เรื่องสำคัญ
1. ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์ สุขภาพ 2. ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ คณะ 4 การพัฒนาระบบสนับสนุนด้าน สุขภาพ ปี 2559
1. ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.1 การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิด สนิทและน้ำแข็ง 1.2 การกำกับดูแลคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยของ นมโรงเรียน 1.3 การจัดการปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการ สุขภาพผิดกฎหมาย 1.4 การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพของเขต 1.5 การดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคของ จังหวัด 1.6 คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ได้รับการ เฝ้าระวังและสถานพยาบาลที่ได้รับการดำเนินการตรม กฎหมาย
เป้าหมาย มาตรการการดำเนินงาน ในพื้นที่ การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ ต้องการ 1. ร้อยละของสถานที่ ผลิตน้ำบริโภคและน้ำแข็ง บริโภคได้มาตรฐาน (เป้าหมาย ร้อยละ 100) 2. ร้อยละของผลิตภัณฑ์ น้ำบริโภคและน้ำแข็ง บริโภคได้คุณภาพ (เป้าหมาย ร้อยละ 100) 3. ร้อยละของน้ำบริโภค และน้ำแข็งบริโภค ณ สถานที่จำหน่าย ได้ มาตรฐาน (เป้าหมาย ร้อยละ 80) ต้นน้ำ (อย.) 1.ตรวจประเมินสถานที่ผลิต 2.เก็บตัวอย่างน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิทและน้ำแข็ง ณ สถานที่ผลิต 3.รายงานผลการดำเนินงานให้จังหวัด และเขตได้รับทราบสถานการณ์ของ ปัญหาอย่างต่อเนื่อง กลางน้ำ-ปลายน้ำ (กรมอนามัย) 1. เก็บตัวอย่างน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิทและน้ำแข็งกลุ่มเป้าหมาย ณ สถานที่จำหน่าย เช่น ร้านอาหาร/ แผงลอย วิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบ SI2 เป้าหมายอย่างน้อย 20 ตัวอย่าง/ตำบล 2. เมื่อพบตกมาตรฐานให้ดำเนินการโดย ตรวจสอบซ้ำและให้ความรู้แก่ร้านค้า/ แผงลอย 1.การจัดทำแนวทาง หรือแผนงานหรือ โครงการเฝ้าระวัง คุณภาพ มาตรฐาน น้ำบริโภคและน้ำแข็ง บริโภคของจังหวัด 2. การตรวจสถานที่ และเก็บตัวอย่าง วิเคราะห์ตามแผนและ สามารถบรรลุเป้าหมาย ที่กำหนด 3. ผลการเฝ้าระวัง น้ำบริโภคในภาชนะ บรรจุที่ปิดสนิทและ น้ำแข็งกลุ่มเป้าหมาย ณ สถานที่จำหน่าย ด้วย SI2 ของจังหวัด 4.ผลการดำเนินการ เมื่อพบตกมาตรฐาน 1.สถานที่ผลิตน้ำ บริโภคในภาชนะ บรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็ง ได้รับ การกำกับดูแล มาตรฐานการผลิต 2. มีการเฝ้าระวัง คุณภาพน้ำ บริโภคในภาชนะ บรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็ง ณ สถานที่ จำหน่าย 1) การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทและน้ำแข็ง
เป้าหมาย มาตรการการดำเนินงาน ในพื้นที่ การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ ต้องการ 1. ร้อยละของสถานที่ ผลิต นมโรงเรียน ได้ มาตรฐาน (เป้าหมายร้อยละ 100) 2.ร้อยละของผลิตภัณฑ์ นมโรงเรียน ได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด (เป้าหมาย ร้อยละ 100) 3. ร้อยละของโรงเรียน ผ่านมาตรฐานการจัดการ การเก็บรักษาตามระบบ Cold chain และความ ปลอดภัยของนมโรงเรียน (เป้าหมาย ร้อยละ 100) ต้นน้ำ (อย.) 1.ตรวจประเมินสถานที่ผลิตนมโรงเรียน ทุกแห่งในจังหวัดตามเกณฑ์ GMP ปีละ 2 ครั้ง (1 ครั้ง/ภาคการศึกษา) 2.เก็บตัวอย่างนมโรงเรียนเพื่อตรวจ วิเคราะห์คุณภาพมาตรฐาน 3.รายงานผลการดำเนินงานให้จังหวัด และ เขตได้รับทราบสถานการณ์ของ ปัญหา อย่างต่อเนื่อง 4. กรณีสถานที่ผลิตและผลิตภัณฑ์ไม่ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด กลางน้ำ-ปลายน้ำ (กรมอนามัย) 1. สสอ./รพช./รพ.สต. ประเมินมาตรฐาน การจัดการ การเก็บรักษาตามระบบ Cold chain และความปลอดภัยนมโรงเรียนของ โรงเรียน ทุกแห่งในพื้นที่รับผิดชอบ อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 2.เมื่อพบไม่ผ่านมาตรฐานให้ดำเนินการ โดยให้ความรู้แก่ครูผู้รับผิดชอบและ ตรวจ ประเมินซ้ำ 1. การจัดทำแนวทาง หรือแผนงานหรือ โครงการเฝ้าระวัง คุณภาพ มาตรฐานและ ความปลอดภัยของนม โรงเรียน ของจังหวัด 2. การตรวจสถานที่ และเก็บตัวอย่าง วิเคราะห์ตามแผนและ สามารถบรรลุเป้าหมาย ที่ กำหนด 3.ผลการประเมิน มาตรฐานการจัดการ การเก็บรักษาตาม ระบบ Cold chain และความ ปลอดภัยนม โรงเรียนของ โรงเรียน ของจังหวัด 4.ผลการดำเนินการ เมื่อพบโรงเรียนที่ไม่ ผ่าน มาตรฐาน 1. สถานที่ผลิต นมโรงเรียนได้รับ การกำกับ ดูแล คุณภาพมาตรฐาน การผลิตให้ เป็นไปตาม มาตรฐานที่ กำหนด 2. โรงเรียนมี มาตรฐานการ จัดการ การเก็บ รักษา ตามระบบ Cold chain และ ความ ปลอดภัย นมโรงเรียน 2)การกำกับดูแลคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยของนมโรงเรียน
เป้าหมาย มาตรการการดำเนินงาน ในพื้นที่ การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ ต้องการ ร้อยละของโฆษณาด้าน สุขภาพที่ผิดกฎหมาย ได้รับการจัดการ (เป้าหมาย ร้อยละ 100) 1. จัดทำแผนและดำเนินการเฝ้า ระวัง การโฆษณาที่ผิดกฎหมายในสื่อ ต่าง เช่น สื่อวิทยุ /ป้ายโฆษณา ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น 2. บูรณาการความร่วมมือกับ เครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังการ โฆษณาทางสื่อ และดำเนินการกับผู้ โฆษณา 3. ดำเนินการจัดการโฆษณาด้าน สุขภาพที่ผิดกฎหมาย ทั้ง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและ สถานพยาบาล โดยการวิเคราะห์ แยกประเด็น ข้อมูลการโฆษณาที่ผิดกฎหมาย และ ดำเนินการวิธีใดๆ เพื่อไม่ให้เผยแพร่ โฆษณาที่ผิดกฎหมาย เช่น ป้องปราม สั่งระงับโฆษณา เปรียบเทียบปรับ ส่ง ฟ้องศาล และส่งข้อมูลให้สำนักงาน กสทช./กสทช.เขตเป็นต้น 1. การจัดทำแนวทาง หรือแผนงานหรือ โครงการเฝ้าระวังการ โฆษณาที่ผิดกฎหมาย ในสื่อต่างของจังหวัด 2. การดำเนินการตาม กฎหมายอย่างเข้มงวด กับสื่อและวิทยุที่มีการ โฆษณาผิดกฎหมาย ตามแผนและสามารถ บรรลุเป้าหมายที่กำหนด โฆษณาผลิตภัณฑ์ สุขภาพและบริการ สุขภาพ ได้รับการ จัดการอย่างมี ประสิทธิภาพ พบว่ามีการกระทำ การฝ่าฝืน หรือกระทำ ผิดกฎหมายด้าน โฆษณาลดลง 3)การจัดการปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพผิดกฎหมาย
เป้าหมาย มาตรการการดำเนินงาน ในพื้นที่ การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ ต้องการ มีแผนยุทธศาสตร์ คบส. เขต/แผนปฏิบัติการงาน/ โครงการพัฒนางาน คบส. ระดับเขต 1.วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ของเขต 2.จัดทำแผนยุทธศาสตร์ คบส. เขต/แผนปฏิบัติการงาน/โครงการ พัฒนางาน คบส.ระดับเขต 3.ดำเนินการตามแผน 4.ติดตามควบคุมกำกับและ ประเมินผล 5.สรุปผลการดำเนินงาน และ จัดทำข้อเสนอแนะ แนวทางการ พัฒนางาน คบส.ของเขตในปี ถัดไป 1.มีการประชุม คณะอนุกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภคด้าน สุขภาพของเขต 2.มีแผนยุทธศาสตร์ / แผนปฏิบัติการ ที่มี คุณภาพ 3.มีสรุปผลการ ดำเนินงานจากการ ติดตามและประเมินผล การดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ ในระดับเขต มีความเป็นเอกภาพ ทั้งเชิงนโยบายและ การปฏิบัติ 4)การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพของเขต
เป้าหมาย มาตรการการดำเนินงาน ในพื้นที่ การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ ต้องการ มีการดำเนินการตามแผน คบส.จังหวัดและ คณะกรรมการเป็นกลไก หลักในการดำเนินงาน คบส.ของจังหวัด 1.วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพของ จังหวัด 2.จัดทำแผนปฏิบัติการงาน คบส. ของจังหวัด 3.ดำเนินการตามแผนและ คณะกรรมการเป็นกลไกหลักใน การดำเนินงาน คบส.ของจังหวัด 4.ติดตามควบคุมกำกับและ ประเมินผล 1.มีคำสั่งแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการ /มีการประชุม 2.มีแผนปฏิบัติการที่มี คุณภาพ 3.มีสรุปผลการ ดำเนินงานจากการ ติดตามและประเมินผล การดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ ในระดับ พื้นที่ จังหวัดมี ประสิทธิภาพ 5) การดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคฯของจังหวัด
เป้าหมาย มาตรการการดำเนินงาน ในพื้นที่ การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ ต้องการ 1. ร้อยละของ คลินิกเวชกรรมที่ ให้บริการด้าน เสริมความงาม ได้รับการเฝ้า ระวังและตรวจ มาตรฐานตามที่ กฎหมายกำหนด (เป้าหมาย ร้อยละ 100) 1. กำหนดเป้าหมาย สำรวจข้อมูล คลินิก ที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ภายในพื้นที่ เพื่อกำหนดเป้าหมายในการ ตรวจมาตรฐาน 2. ดำเนินการตรวจตามเป้าหมาย มุ้ง เน้น ประเด็นหลัก คือ 1.บุคลากร 2.สถานที่ 3.เครื่องมือ โดยใช้แบบตรวจ คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการเสริมความงาม ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 3. กรณีพบคลินิกเวชกรรมที่ไม่ได้ มาตรฐานให้ดำเนินการตามกฎหมาย 4. สรุปผลการดำเนินงาน 1.มีการกำหนด จำนวนเป้าหมาย ที่ชัดเจน 2. มีรายงานผล การตรวจเฝ้า ระวังและ ดำเนินการตาม กฎหมาย 3. มีการสรุปผล การดำเนินงาน พร้อมปัญหา อุปสรรค - ผู้บริโภค ได้รับการ บริการจาก สถานพยาบาล ที่มีมาตร ฐาน และปลอดภัย - สถานพยา บาลที่กระทำ ผิดกฎหมาย ได้รับการ ดำเนินการตาม ขั้นตอนของ กฎหมาย 6.1 ) คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ได้รับการเฝ้าระวังและตรวจ มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
เป้าหมาย มาตรการการดำเนินงาน ในพื้นที่ การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ ต้องการ 2. ร้อยละของ เรื่องร้องเรียน สถานพยาบา ลที่กระทำผิด กฎหมาย ได้รับการ ดำเนินการ ตามกฎหมาย (เป้าหมายร้อย ละ 100) 1.รับเรื่องร้องเรียน/ตรวจพบโดย หน่วยงาน 2. ดำเนินการจัดการตามกฎหมาย ดำเนินการจัดการตามขั้นตอนของกฎหมาย ภายในระยะเวลาที่กำหนด - ภายในระยะเวลา 30 วันทำการ ได้แก่ เรื่องที่ทางหน่วยงานมีการเฝ้าระวัง และตรวจพบว่าการกระทำความผิดนั้นเข้า ข่ายผิดกฎหมายและมีหลักฐานข้อมูล ชัดเจน - ภายในระยะเวลา 60 วันทำการ ได้แก่ เรื่องที่มีผู้รับบริการด้านสถานพยาบาล ร้องเรียนผ่านช่องทางต่างๆ แต่ข้อมูลการ กระทำความผิดยังไม่ชัดเจนหรือไม่ครบถ้วน และต้องตรวจสอบข้อเท็จจริง 3. สรุปผลการดำเนินงาน 1. มีข้อมูล จำนวนเรื่อง ร้องเรียน สถานพยาบาลที่ กระทำผิด กฎหมาย 2. มีรายงานผล การดำเนินการ ตามกฎหมาย 3. มีการสรุปผล การดำเนินงาน พร้อมปัญหา อุปสรรค - ผู้บริโภค ได้รับการ บริการจาก สถาน พยาบาล ที่มีมาตรฐาน และปลอดภัย - สถานพยา บาลที่กระทำ ผิดกฎหมาย ได้รับการ ดำเนินการ ตามขั้นตอน ของกฎหมาย 6.2 สถานพยาบาลที่กระทำผิดกฎหมายได้รับการดำเนินการตามกฎหมาย
2. ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ 2.1 จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการ มูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมาย 2.2 จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการ มูลฝอยทั่วไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ถูกหลักสุขาภิบาล
2.1 จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมาย เป้าหมาย มาตรการการ ดำเนินงาน ในพื้นที่ การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ ต้องการ โรงพยาบาล สังกัด กระทรวง สาธารณสุขมี การจัดการมูล ฝอยติดเชื้อ ตามกฎหมาย 1. พัฒนาระบบข้อมูล สถานการณ์และการ เฝ้าระวังด้าน สิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ 1.1 มีฐานข้อมูลการจัดการมูลฝอยติด เชื้อของสถานบริการการสาธารณสุข 1.2 มีทะเบียนรายชื่อบริษัทเก็บขน และ กำจัดมูลฝอยทั้งหมดในจังหวัด และที่ ผ่านการประเมินมาตรฐาน ประชาชน ไม่ได้รับ ผลกระทบ จากการ จัดการ มูล ฝอยที่ไม่ถูก สุขลักษณะ 2. ใช้กลไกของ อสธจ. ในการ ขับเคลื่อนการ ดำเนินงานการจัดการ มูลฝอยติดเชื้อและ มูลฝอยทั่วไป 2.1 มีมติจากการประชุม อสธจ. เพื่อ ขับเคลื่อนการดำเนินงานการจัดการมูล ฝอยติดเชื้อ 2.2 มีแผน และผลการดำเนินงานตามมติ เพื่อให้มูลฝอยติดเชื้อและมูลฝอยทั่วไป ได้รับการจัดการตาม 3. พัฒนาระบบบริหาร จัดการของเสียจาก สถานบริการ สาธารณสุข 3.1 มีผลการกำกับติดตามและประเมิน มาตรฐานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
2.2 จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยทั่วไปของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ถูกหลักสุขาภิบาล เป้าหมาย มาตรการการ ดำเนินงาน ในพื้นที่ การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ ต้องการ ร้อยละ 25 ของ เทศบาลทุก ระดับผ่าน การประเมิน มาตรฐาน การ จัดบริการ อนามัย สิ่งแวดล้อม (EHA) ด้านการ จัดการมูล ฝอยทั่วไป 1. พัฒนาระบบข้อมูล สถานการณ์และการเฝ้า ระวังด้านสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ 1.1 มีฐานข้อมูลด้านการจัดการมูลฝอยของ เทศบาลทุกระดับ ประชาชน ไม่ได้รับ ผลกระทบ จากการ จัดการ มูล ฝอยที่ไม่ถูก สุขลักษณะ 2. ใช้กลไกของ อสธจ. ในการขับเคลื่อนการ ดำเนินงานการจัดการมูล ฝอยติดเชื้อและมูลฝอย ทั่วไป 2.1 มีมติจากการประชุม อสธจ. เพื่อ ขับเคลื่อนการดำเนินงานการจัดการมูลฝอย ทั้งจังหวัด 2.2 มีแผน และผลการดำเนินงานตามมติ เพื่อให้มูลฝอยทั่วไปได้รับการจัดการ 3. ส่งเสริม อปท. ในการ จัดบริการอนามัย สิ่งแวดล้อม 3.1 มีการดำเนินการอบรม/ให้ความรู้/ร่วม ตรวจประเมินการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการ จัดการมูลฝอยทั่วไปแก่เทศบาล 3.2 มีเทศบาลที่ผ่านมาตรฐานการ จัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม(EHA) ด้าน การจัดการมูลฝอยทั่วไป