1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา : สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์ รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด และคุ้มค่า การรักษาสภาพสิ่งแวดล้อม รณรงค์ให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมของทางราชการ แนะนำการเพาะปลูกพืชที่เหมาะสมกับพื้นที่และสานการณ์
2.การสร้างเครือข่ายประชาสัมพันธ์ โดยการจัดสัมมนาสร้างความเข้าใจให้กับสื่อบุคคล เนื้อหา : แจ้งสถานการณ์น้ำในพื้นที่นั้น ๆ แผนการการให้ความช่วยเหลือของภาครัฐ แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำแล้งอย่างยั่งยืน
3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ 1.สปอตประชาสัมพันธ์ ส่วนกลาง และภูมิภาค 2.สารคดีสั้น 1 – 2 นาที เรื่อง “สาระน่ารู้สู้ภัยแล้ง” ตุลาคม 2558 – เมษายน ข่าว ข่าวส่วนกลาง / ภูมิภาค 4.รายการพิเศษ 5.สัมมนา “ร่วมใจต้านภัยแล้ง” ทุกจังหวัด 6.ข่าวและบทความเผยแพร่ทางสื่อสิ่งพิมพ์และหนังสือพิมพ์รายวัน
ประเภท กรมประชาสัมพันธ์ หน่วยงานเครือข่าย วิทยุกระจายเสียง อสมท. / วิทยุชุมชน / วิทยุเครือ กองทัพ / วิทยุของหน่วยงานต่าง ๆ โทรทัศน์ TV 3, 5, 7, 9, ดิจิทัล, ดาวเทียม และ Cable TV Social Media หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรม ทรัพยากรน้ำ, มหาดไทย, YOUTUBE กิจกรรมสร้างความรู้ให้กับ เครือข่าย + พันธมิตรของกรม ประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่สื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ์ วารสาร กปส. วารสารของหน่วยงาน, หนังสือพิมพ์ 4. สื่อที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์
ที่กิจกรรม จำนวนครั้งที่เผยแพร่ หมายเหตุ 1.โทรทัศน์ สปอต รายการ ข่าว สกู๊ปข่าว อักษรวิ่ง เรื่อง 3,000 ครั้ง ทั่วประเทศ
ที่กิจกรรม จำนวนครั้งที่เผยแพร่ หมายเหตุ 2.วิทยุกระจายเสียง สปอต รายการพิเศษ ข่าว (สัมภาษณ์ / ข่าวอ่าน) ข้อความประชาสัมพันธ์ / แทรกในรายการวิทยุ ทั่วประเทศ
ที่กิจกรรม จำนวนครั้งที่เผยแพร่ หมายเหตุ 3.เว็บไซต์ กิจกรรมอื่น แถลงข่าวการทำ ความเข้าใจชาวบ้าน จังหวัดเคลื่อนที่ เอกสารข่าว กิจกรรมพบผู้ใช้น้ำ
ธกส. ช่วยเกษตร แผนบูรณาการช่วยเกษตรกรผู้ประสบภัยแล้ง การขับเคลื่อนนโยบายของภาครัฐ ชลประทานในพื้นที่ชี้แจง ส่งเสริมการใช้แก้มลิงเก็บกักน้ำแก้ภัยแล้ง มาตรการช่วยเกษตรกร 8 มาตรการ มาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล (ตำบลละ 5 ล้าน) ฯลฯ