เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Advertisements

ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
S OFTWARE จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ สุขมิลินท์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3.
การเผยแพร่เอกสาร (Publish)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
FIX COMMON PC PROBLEMS By Missis Jatuporn Surinseng Missis Chamaiporn Sommit.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
สมาชิกกลุ่ม นายจตุพร ร้องเสียง เลขที่ 5 นายณัฐวัฒน์ เทพวรรณ์ เลขที่ 8
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ จัดทำโดย น.ส. จิตรวรรณ เอกพันธ์ sc คณะวิทยาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์ (กศ.บ.)
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
Open Source Software. Open Source ซอฟต์แวร์ที่ไม่เก็บค่าลิขสิทธิ์กับผู้ใช้ เปิดเผยต้นฉบับรหัสซอฟต์แวร์ (Source Code) อนุญาตให้แก้ไข ดัดแปลง เผยแพร่ โปรแกรมต้นฉบับ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การออกแบบและเทคโนโลยี
copyright All Rights Reserved
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
Material requirements planning (MRP) systems
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
และการใช้เครื่องมือในการสร้างเว็บเพจ
IP-Addressing and Subneting
Introduction to VB2010 EXPRESS
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
IP-Addressing and Subneting
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic language).
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
Information and Communication Technology Lab2
13 October 2007
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill Nerissa Onkhum 01/01/62.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
+ Software บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ Hardware
Basic Input Output System
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
Object-Oriented Programming Paradigm
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
SMS News Distribute Service
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์

โปรแกรมที่รันบนวินโดว์ C/C++, Visual Basic, Delphi โปรแกรมที่ทางานบนเว็บ PHP, ASP, JAVA, Perl, Tcl, C# โปรแกรมฐานข้อมูล Visual Basic, Access, FoxPro, Clipper, dBase, FoxBASE โปรแกรมกราฟิก Adobe Photoshop, Adobe Illustrator, CorelDraw, Light Wave, Adobe Flash, Maya โปรแกรมเกม โปรแกรมคำนวณ Excel, Calculator

 ซอฟต์แวร์ (Software) หรือโปรแกรม คอมพิวเตอร์ (Computer Program) คือ โปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์และถูกแปลงให้เป็น ภาษาเครื่องเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใด อย่างหนึ่งตามที่เราต้องการ  แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ  System software  Application software

 เป็นโปรแกรมที่ทำงานเกี่ยวกับระบบ คอมพิวเตอร์ มีหน้าที่ในการควบคุม อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทุกชนิด และจัดตาราง การทำงานทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ ทำงานกับฮาร์ดแวร์ทุกตัวซึ่งก็คือ ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) นั่นเอง ได้แก่ DOS, Windows, Linux, Mac OS, OS/2

 เป็นโปรแกรมที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อทำงานด้านต่างๆ ซึ่งก็ถูกเขียนขึ้นจากโปรแกรมภาษาต่างๆ เช่น PowerDVD, Windows Media Player, Word, Calculator, SPSS สามารถแบ่งออกได้หลาย ประเภทดังนี้  โปรแกรมพิมพ์งาน  โปรแกรมเกม  โปรแกรมยูทิลิตี้  โปรแกรมมัลติมีเดีย  โปรแกรมสาหรับระบบ  โปรแกรมภาษาสาหรับพัฒนาซอฟต์แวร์

 แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ  ภาษาระดับต่ำ ได้แก่ ภาษาเครื่อง และภาษา Assembly  ภาษาระดับสูง ได้แก่ Basic, Pascal, Ada, C, Cobol, Fortran และอื่นๆ  ความแตกต่างระหว่างภาษาระดับสูงและระดับ ต่ำคือ ภาษาระดับต่ำ ควบคุมอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ได้ดีกว่า แต่เขียนยาก และยาวมาก ส่วนภาษาระดับสูงเขียนง่ายเข้าใจง่ายกว่า เพราะใกล้เคียงภาษามนุษย์ แต่มีข้อจากัดใน การควบคุมฮาร์ดแวร์

 โปรแกรมที่เขียนขึ้นมา ไม่ว่าจะเขียนโดยใช้ อิดิเตอร์ (editor) อะไรก็ตาม จะได้ซอร์สโค้ด (source code) ซึ่งจะเก็บในรูปแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะ มีนามสกุลแตกต่างกันไปดังนี้

 คอมไพเลอร์ (compiler)  คอมไพเลอร์จะอ่านโปรแกรมทั้งหมดก่อน เมื่อเจอข้อผิดพลาด ก็จะแจ้งให้แก้ไข แต่ ถ้าไม่พบข้อผิดพลาดใดๆ ในโปรแกรม ก็จะ แปลให้เป็นโปรแกรมที่พร้อมจะ ทำงานดังรูป

 อินเตอร์พรีเตอร์ (interpreter) อินเตอร์พรีเตอร์จะอ่านโปรแกรมมาทีละ บรรทัดและทำ ตามคำสั่งแบบบรรทัดต่อ บรรทัดถ้าเจอข้อผิดพลาดโปรแกรม จะ หยุดและแจ้งให้ทราบว่าผิดพลาด  ตัวอย่างเช่นการแปลภาษา HTML

 เมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จ ผ่านการ แปลภาษาแล้วผลที่ได้ก็จะเป็นไฟล์ โปรแกรมที่สามารถนำไปใช้ได้เลย โดย อาจก๊อปปี้ลงดิสก์ไปเปิดที่เครื่องอื่นๆ ได้ ซึ่งจะเป็นไฟล์โปรแกรมแยกจากตัวซอร์ สโค้ดที่เราเขียน ไฟล์โปรแกรมที่ได้นั้น เป็นไฟล์แบบเลขฐานสอง หรือไบนารีไฟล์ (.exe) เรียกว่าเอ็กซีคิวเทเบิ้ลไฟล์ (executable file)

 C มีต้นกำเนิดมาจากภาษาคอมพิวเตอร์ ยูนิกซ์ (UNIX)  นำเอาภาษาเครื่องมาใช้ในการพัฒนา โปรแกรมอื่นๆ และพัฒนาเป็น ระบบปฏิบัติการ (OS) และได้สร้างภาษาบี (B) ขึ้นมา เพื่อช่วยให้การเขียนโปรแกรม ทำได้ง่ายขึ้น ต่อมา Dennis Ritchie จาก Bell Lab ได้นำภาษานี้มาพัฒนาต่อและใช้ ชื่อว่า C เพราะเป็นภาษาต่อจาก B ในยุค นั้นจะทำงานบนยูนิกซ์เป็นส่วนมาก

 ภาษา C ได้มีการพัฒนาต่อโดยใช้แนวคิด โปรแกรมเชิงวัตถุ หรือ OOP(Object Oriented Programming)  เกิดภาษาใหม่เรียกว่า “ ซี พลัส พลัส ” (C++)  ภาษาซียังเป็นต้นฉบับให้กับอีกหลายๆ ภาษาในปัจจุบันเช่น Java, C# ( อ่านว่าซี ชาร์ป )  C# คือภาษาที่ออกแบบมาเพื่อทำงานบน แพลตฟอร์ม.NET