งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill Nerissa Onkhum 01/01/62.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill Nerissa Onkhum 01/01/62."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill
Nerissa Onkhum 01/01/62

2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ 01/01/62

3 ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 1. ระบบปฏิบัติการ
ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 1. ระบบปฏิบัติการ 1.ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป 2. ตัวแปลภาษา 2.ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะงาน แผนผัง แสดงการแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์

4 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ระบบปฏิบัติการ (Operating system หรือ OS) ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)

5 ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
คือ โปรแกรมที่เป็นส่วนเชื่อมโยงระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์กับผู้ใช้ เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแล ระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้

6 หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
1. ควบคุมการทำงานของโปรแกรมและอุปกรณ์ต่างๆ 2. จัดสรรการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน 3. เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ 4. จัดการข้อมูลและสารสนเทศภายในหน่วยความจำ 5. จัดการในด้านรักษาความปลอดภัย

7 ประเภทของระบบปฏิบัติการ
1. Dos 2. Windows 3. Mac OS 4. Unix 5. Linux

8 1. DOS

9 DOS เป็นระบบปฏิบัติการในการจัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้วการใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร DOS มีลักษณะการทำงานแบบ Single tasking คือ ทำงานได้ทีละงานเท่านั้น

10 2. Windows Microsoft Bill Gate

11 Windows เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียว การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลือกตำแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย ระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน Wondows มีลักษณะการทำงานแบบ Multi tasking คือ สามารถงานหลายๆ อย่างได้ในเวลาเดียวกัน

12 Windows 1.01 (1985)

13 Windows 3.0 (1990) Windows 3.1 (1992)

14 Windows 95 (1995) Windows 98 (1998)

15 Windows ME (2000) Windows XP (2001)

16 Windows Vista (2006) Windows 7 (2009)

17 3. Mac OS เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องแมคอินทอช (Macintosh)
นิยมใช้กับงานด้าน Graphic

18 Mac OS

19 4. Unix

20 4. Unix ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครือข่าย ขนาดใหญ่ มีลักษณะเป็น Multiuser คือ ผู้ใช้หลายๆ คนสามารถเข้าไปใช้ระบบได้พร้อมกันได้

21 Linux

22 Linux เป็นระบบปฏิบัติการที่นิยมมากยิ่งขึ้นในปัจจุบัน
เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับ ให้นักพัฒนาช่วยพัฒนาคุณสมบัติของระบบ ซึ่งมีลักษณะเป็น OpenSource คือ ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สามารถแก้ไข ต้นฉบับของโปรแกรม (Source code) ได้ เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี (Free Ware) ผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย

23 Linux

24 มีคนใช้มากที่สุดในปัจจุบัน ?
ระบบปฏิบัติการใด มีคนใช้มากที่สุดในปัจจุบัน ?

25 ที่มา : www.truehits.net

26 ระบบปฏิบัติการ ของคนไทย ?

27 ลีนุกซ์ทะเล

28 ลีนุกซ์ซีส

29 2. โปรแกรมภาษา (Language Software)
ซอฟต์แวร์ ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง

30 การรู้จักข้อมูลของคอมพิวเตอร์
ไม่รู้จัก “A” พิมพ์ “A” “A” =

31 ภาษาคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณไฟฟ้า เปิดและปิด ซึ่งใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์จึงใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้ เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์รหัสแทนข้อมูล และคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่า “ภาษาเครื่อง”

32 ภาษาเครื่อง

33 ภาษาคอมพิวเตอร์ การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยากจึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่า “ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง”

34

35 โปรแกรมที่ใช้แปลภาษาคอมพิวเตอร์
ในการทำงานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องดังนั้นจึงมีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง แบ่งตามลักษณะการทำงานเป็น 3 ประเภท คือ - คอมไพเลอร์ (Compiler) - อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) - แอสแซมเบลอ (Assembler)

36 คอมไพเลอร์ (Compiler)
แปลงโปรแกรมภาษาที่อยู่ในรูปภาษาระดับสูงไปเป็นคำสั่งภาษาเครื่อง แปลงโปรแกรมต้นฉบับทั้งหมดเพียงครั้งเดียว เหมาะกับโปรแกรมขนาดใหญ่

37 อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
แปลงโปรแกรมภาษาที่อยู่ในรูปภาษาระดับสูงไปเป็นคำสั่งภาษาเครื่อง แปลงโปรแกรมต้นฉบับทีละคำสั่ง เหมาะกับโปรแกรมขนาดเล็ก

38 แอสแซมเบลอ (Assembler)
แปลงโปรแกรมต้นฉบับที่เขียนอยู่ในรูปแบบของภาษาแอสเซมบลี ไปเป็นคำสั่งภาษาเครื่อง แปลงโปรแกรมไปเป็นภาษาเครื่องทำได้ง่าย รวดเร็ว

39 คอมไพเลอร์,อินเตอร์พรีเตอร์,แอสแซมเบลอ
ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับสูง ตัวแปลภาษา ภาษาเครื่อง คอมไพเลอร์,อินเตอร์พรีเตอร์,แอสแซมเบลอ

40 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ การใช้งานคอมพิวเตอร์ต้องมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซึ่งอาจเป็นซอฟต์แวร์สำเร็จที่มีผู้พัฒนา เพื่อใช้งานทั่วไปทำให้ทำงานได้สะดวกขึ้น หรืออาจเป็นซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ ซึ่งผู้ใช้เป็นผู้พัฒนาขึ้นเอง เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการทำงานของตน

41 ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน

42 เป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้น
ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป เป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้น แล้วนำออกมาจำหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งานซื้อไปใช้ได้โดยตรง ไม่ต้องเสียเวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์อีก

43 ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่มีจำหน่ายในท้องตลาดทั่วไป และเป็นที่นิยมของผู้ใช้ ได้แก่ 1 ซอฟต์แวร์ประมวลคำ (word processing software) 2 ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน (spreadsheet software) 3 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (database management software) 4 ซอฟต์แวร์นำเสนอ (presentation software) 5 ซอฟต์แวร์สื่อสารและค้นหาข้อมูล ( data communication and discovery software) 6 ซอฟต์แวร์กราฟิก (graphic software)

44 1) ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ
- ใช้สำหรับการพิมพ์เอกสาร สามารถแก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้อย่างดี - สามารถช่วย ตรวจสอบตัวสะกดในเอกสารที่พิมพ์ว่าถูกต้องหรือไม่

45 มีโปรแกรมใด เป็นโปรแกรมสำหรับ ประมวลผลคำบ้าง
? มีโปรแกรมใด เป็นโปรแกรมสำหรับ ประมวลผลคำบ้าง ? ?

46 ANS. Notepad WordPad

47 2) ซอฟต์แวร์สำหรับคำนวณ
1. ใช้สำหรับสร้างตารางการคำนวณ และสร้างกราฟแผนภูมิสำหรับนำเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น กราฟแท่ง กราฟเส้น แผนภูมิวงกลมและอื่นๆ 2. ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทำงานที่มีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้มีเครื่องมือคล้ายปากกา ยางลบ และเครื่องคำนวณเตรียมไว้ให้เสร็จ บนกระดาษมีช่องให้ใส่ตัวเลข ข้อความหรือสูตร สามารถสั่งให้คำนวณตามสูตรหรือเงื่อนไขที่กำหนด หากผู้ใช้ต้องการสร้างคำสั่งหรือสูตรเองก็สามารถดำเนินการได้ 3. การใช้งานโดยทั่วไปสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันที่มีอยู่หลายหมวดหมู่ เช่น ฟังก์ชันทางสถิติ ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์

48 มีโปรแกรมใด เป็นโปรแกรมสำหรับ สร้างตารางการคำนวณ
? มีโปรแกรมใด เป็นโปรแกรมสำหรับ สร้างตารางการคำนวณ ? ?

49 ANS. MS-Excel

50 3) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
การรวบรวมข้อมูลหลายๆ เรื่องที่เกี่ยวข้องกันไว้ในคอมพิวเตอร์เรียกว่า “ฐานข้อมูล” ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การประมวลผลข้อมูลพื้นฐาน การสร้างรายงานผล หรือสรุปผลของข้อมูลที่ผ่านการประมวลแล้ว ประโยชน์ของซอฟแวร์จัดการฐานข้อมูล คือ 1. การเรียกค้นมาใช้งาน และจัดการกับข้อมูลที่จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ การทำรายงาน การสรุปผลจากข้อมูล 2. ช่วยให้ผู้ใช้งานทั้งหลายได้รับ ความสะดวกและใช้ข้อมูลร่วมกันได้

51 มีโปรแกรมใด เป็นโปรแกรมสำหรับ จัดการฐานข้อมูล
? มีโปรแกรมใด เป็นโปรแกรมสำหรับ จัดการฐานข้อมูล ? ?

52 ANS. Informix dBase FoxPro Paradox

53 4) ซอฟต์แวร์นำเสนองาน 1. ใช้สำหรับนำเสนอข้อมูล สร้างแผนภูมิ กราฟ และรูปภาพได้ ทำให้การนำเสนอมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น สามารถแสดงข้อความในลักษณะที่ สื่อความได้ง่าย 2. สามารถสร้างสไลด์โดยประกอบด้วย ตัวอักษร รูปภาพ กราฟ แผนภูมิ ตาราง ภาพเคลื่อนไหว เสียงและอื่นๆ

54 มีโปรแกรมใด เป็นโปรแกรมสำหรับ นำเสนองาน
? มีโปรแกรมใด เป็นโปรแกรมสำหรับ นำเสนองาน ? ?

55 ANS.

56 5) ซอฟต์แวร์สื่อสารและค้นหาข้อมูล
ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูลช่วยให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก ซึ่งให้ทั้งความสะดวกและรวดเร็วไม่ว่าจะเป็นการค้นหาข้อมูลข่าวสาร การซื้อขายสินค้า การศึกษา โดยใช้ซอฟต์แวร์สื่อสารเชื่อมโยงต่อเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต

57 ซอฟต์แวร์สื่อสารและค้นหาข้อมูล แบ่งเป็น
Graphic & Multimedia Web Design Web Browser AntiVirus

58 ซอฟต์แวร์สื่อสารและค้นหาข้อมูล แบ่งเป็น
Music & Audio Chat รับส่ง FTP

59 โปรแกรม Graphic ซอฟต์แวร์กราฟิกเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สร้าง ออกแบบ วาดหรือ จัดแต่งเอกสาร หรือรูปภาพซึ่งซอฟต์แวร์นี้ สามารถสร้างงานได้รวดเร็วมีคุณภาพ และมีปริมาณมากง่ายต่อการนำไปใช้

60 โปรแกรมกราฟิก

61

62 โปรแกรม Web Design

63 เป็นโปรแกรมที่อ่านเอกสารจากเว็บเพจ มาแสดงบนจอภาพ
โปรแกรม Web Browser เป็นโปรแกรมที่อ่านเอกสารจากเว็บเพจ มาแสดงบนจอภาพ

64 โปรแกรม Music & Audio

65

66 โปรแกรม Chat

67

68 โปรแกรมรับส่งเมล ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( ) เป็นโปรแกรมที่ใช้เชื่อมโยงเอกสารระหว่างกันโดยสามารถส่งจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว ทั้งที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกันหรือต่างกัน ตัวอย่างโปรแกรมไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่พัฒนาจากทั้งองค์กร และบริษัทเพิ่มเติม มีทั้งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นการค้า และแจกฟรี เช่น เนสเคป และเอาท์ลุก เป็นต้น

69 โปรแกรมรับส่งเมล

70 โปรแกรม AntiVirus ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ

71 โปรแกรมตรวจหาหรือทำลายไวรัส

72 ที่มา http://anti-virus-software-review.toptenreviews.com/

73 บุคลากร (People) บุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์อีกอย่างหนึ่งที่สำคัญมาก กลุ่มบุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งหมดแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม 1. ผู้ใช้งานทั่วไป 2. ผู้เชี่ยวชาญ 3. ผู้บริหาร 01/01/62

74 บุคลากร (People) 1. ผู้ใช้งานทั่วไป ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User/End User) - เป็นผู้ใช้งานระดับต่ำสุด - ไม่จำเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญมากนักก็สามารถใช้งานได้ - ศึกษาจากคู่มือปฏิบัติงานหรือคู่มือใช้งานโปรแกรม หรือเข้ารับการอบรม - บุคลากรกลุ่มนี้มีจำนวนมากที่สุดในหน่วยงาน - ในการวางระบบงานคอมพิวเตอร์ขององค์กร ผู้ใช้งานถือได้ว่ามีบทบาทที่สำคัญมาก เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการใช้งานโดยตรง 01/01/62

75 บุคลากร (People) 2. กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 1. ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/Computer Technician) - โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นบุคลากรที่มีความชำนาญทางด้านเทคนิคโดยเฉพาะ - หน้าที่หลัก คือ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่วยงานให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ - บางครั้งก็เรียกว่า ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Technician) 01/01/62

76 บุคลากร (People) 2. กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) - มีหน้าที่วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ รวมไปถึงผู้บริหารของหน่วยงานนั้น ๆ - อาจมีหน้าที่ออกแบบกระบวนการทำงานของระบบโปรแกรมต่าง ๆ - ใกล้ชิดกับผู้ใช้งานมากที่สุด - เปรียบเทียบเสมือนกับการทำงานของสถาปนิก 01/01/62

77 บุคลากร (People) 2. กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 3. นักเขียนโปรแกรม (Programmer) - ผู้ที่มีความชำนาญในการเขียนโปรแกรม - มีหน้าที่และตำแหน่งแตกต่างกันไป เช่น - web programmer - application programmer - System programmer 01/01/62

78 บุคลากร (People) 2. กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 4. วิศวกรซอฟต์แวร์ - ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาอย่างมีแบบแผนโดยอาศัยหลักทางวิศวกรรมศาสตร์มาช่วย - ต้องมีทักษะและเข้าใจในการพัฒนาซอฟต์แวร์มาก - มีทักษะในการเขียนโปรแกรมหลาย ๆ ภาษา - สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที 01/01/62

79 บุคลากร (People) 2. กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 5. ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก (Network Administrator) - ทำหน้าที่ดูแลและบริหารระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร - มักเกี่ยวข้องกับลักษณะงานทางด้านเครือข่ายโดยเฉพาะ 01/01/62

80 บุคลากร (People) 3. กลุ่มผู้บริหาร 1. ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ (CIO – Chief Information Officer) - CIO จะทำหน้าที่กำหนดทิศทาง นโยบายและแผนงานทางคอมพิวเตอร์ในองค์กรทั้งหมด 01/01/62

81 บุคลากร (People) 3. กลุ่มผู้บริหาร 2. หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Center Manager/Information Technology Manager) - เป็นผู้จัดการหรือหัวหน้างานทางด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีขององค์กร - มีหน้าที่ดูแลและกำกับงานทางด้านคอมพิวเตอร์ให้บรรลุเป้าหมายตามแผนงานและทิศทางที่วางไว้โดย CIO 01/01/62

82 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
01/01/62

83 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
01/01/62

84 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
ข้อมูลที่จะนำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ จะต้องมีการแปลงรูปแบบหรือสถานะให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ จึงจะสามารถประมวลผลได้ สถานะหรือรูปแบบ เรียกว่า สถานะแบบดิจิตอล สถานะการทำงานแบบดิจิตอลอาศัยการประมวลผลโดยใช้ ระบบเลขฐานสอง หรือเรียกว่า binary system หรือเรียกย่อ ๆ ว่า บิต ตัวเลขฐานสอง (บิต) สภาวะของประจุไฟฟ้า (หลอดไฟติด/ดับ) สถานะทางไฟฟ้า (เปิด/ปิด) 1 ON OFF 01/01/62

85 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
จำนวนของเลขฐานสองหรือบิตที่รวมกันครบ 8 ตัว จะเรียกว่าเป็น ไบต์ กลุ่มตัวเลขฐานสองต่าง ๆ ที่นำมาใช้ จะมีองค์กรที่กำหนดมาตรฐานให้ใช้บนระบบคอมพิวเตอร์อยู่หลายมาตรฐาน มาตรฐานที่ได้รับความนิยม คือ มาตรฐานแห่งสหรัฐอเมริกาที่เรียกว่า รหัสแอสกี (ASCII : American Standard Code for Information Interchange) 8 บิต 1 ไบต์ 01/01/62

86 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
กระบวนการแปลงข้อมูล ขั้นตอนที่ 2 สัญญาณอักษร “D” ส่งต่อไปยังระบบการทำงาน ของคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนที่ 1 กด Shift + D เพื่อป้อนตัวอักษร “D” D ฏ ขั้นตอนที่ 3 แปลงอักษร “D” ให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน ของรหัส ASCII D ขั้นตอนที่ 4 แสดงผล โดยแปลงกลับ ให้เป็นภาพอักษร “D” บนอุปกรณ์แสดงผล D 01/01/62

87 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
หน่วยวัดความจุข้อมูล หน่วยวัด อ่านว่า ตัวย่อ ขนาดความจุข้อมูล ค่าโดยประมาณ Kilobyte กิโลไบต์ KB (210)1 = 1024 bytes 1000 bytes (thousand) Megabyte เมกะไบต์ MB (210)2 = bytes bytes (million) Gigabyte กิกะไบต์ GB (210)3 = bytes bytes (billion) Terabyte เทราไบต์ TB (210)4 = bytes bytes (thousand) 01/01/62

88 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ แสดงผลลัพธ์ (Program Output) ป้อนข้อมูลเข้า (User Input) โปรแกรมประยุกต์ สนองบริการ (Service Responses) ร้องขอบริการ (Service Requests) โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ประมวลผลลัพธ์ (Processing Results) สั่งการฮาร์ดแวร์ (Hardware Instructions) ฮาร์ดแวร์ 01/01/62

89 แบบฝึกหัด4 ซอฟแวร์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง จงยกตัวอย่างซอฟต์แวร์แต่ละประเภทมาหนึ่งตัวอย่าง ให้นักศึกษายกตัวอย่างซอฟต์แวร์ที่คนไทยเป็นผู้พัฒนาขึ้น มา 5 ซอฟต์แวร์และจงอธิบายว่าใครเป็นผู้พัฒนา และใช้งานทางด้านใด ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตในเรื่อง 10 อันดับแรกของ โปรแกรม AntiVirus ที่ดีที่สุด พร้อมทั้งให้เหตุผล 01/01/62


ดาวน์โหลด ppt เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill Nerissa Onkhum 01/01/62.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google