ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน
แผนส่งเสริมด้านการตลาดสินค้า อินทรีย์ สนับสนุนให้มีศูนย์รวบรวมและจำหน่ายสินค้า อินทรีย์ ส่งเสริมให้มีหมู่บ้านอินทรีย์ (Organic Village) กิจกรรมเชื่อมโยงตลาดในและต่างประเทศ ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้ กระตุ้นการ บริโภค
การพัฒนาหมู่บ้านอินทรีย์ Organic Village ปลูกพืชนานาชนิด เลี้ยงสัตว์ ควบคุมโดยระบบ Participatory Guarantee System:PGS หรือระบบ มาตรฐานอินทรีย์ที่กำหนด แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์จำหน่าย เช่น อาหารแปรรูป เครื่องสำอาง และอื่น ๆ Organic Farm Outlet วัตถุประสงค์ - เป็นสถานที่รองรับสินค้าเกษตร อินทรีย์สดและแปรรูป และกระจาย จำหน่าย รูปแบบการดำเนินการ - เกษตรกรนำสินค้ามาจำหน่ายเอง หรือฝากขาย - มีผู้บริหารจัดการศูนย์ฯ ดูแล ตลาดในประเทศ -ผู้บริโภคทั่วไป -ร้านอาหาร -ห้างสรรพสินค้า -โรงแรม -โรงพยาบาล -พัฒนาให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร การส่งเสริมและสนับสนุน - สนับสนุนบรรจุภัณฑ์ - จัดกิจกรรมส่งเสริมการจำหน่าย - การเชื่อมโยงสินค้าระหว่างศูนย์ฯ และสถานที่ อื่น ๆ - จัดงานจำหน่ายสินค้าตามเทศกาลต่าง ๆ - รณรงค์เพิ่มการบริโภค - ถ่ายทอดความรู้เชิงปฏิบัติการให้เกษตรกร - จัดอบรมศึกษาดูงานการแปรรูปสินค้า - สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์เพื่ออำนวยความ สะดวกในการจำหน่าย -จัดประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่าง ๆ เช่น คู่มือ ท่องเที่ยวหมู่บ้านเกษตรอินทรีย์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกษตรกร : ต้นทุนลด รายได้เพิ่ม มีสถานที่จำหน่ายสินค้า ผู้บริโภค : บริโภคสินค้าปลอดภัย ซื้อได้ในราคายุติธรรม ภาครัฐ : ชุมชนเข้มแข็งประชาชน มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ลดปัญหาการแทรกแซง ของภาครัฐ เป้าหมายปี 2559 นครปฐม เพชรบุรี สุรินทร์ น่าน เพชรบูรณ์ ตลาดต่างประเทศ -จำหน่ายไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก การจัดหาตลาด
ศูนย์จำหน่ายสินค้าเกษตรชุมชน (Farm Outlet) วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกษตรกรมีสถานที่จำหน่ายสินค้า มีการเพิ่ม มูลค่าผลผลิต เพิ่มช่องทางการจำหน่าย และสร้างรายได้ให้แก่ เกษตรกรเพิ่มขึ้น เป้าหมาย พัฒนาและส่งเสริมให้มีศูนย์จำหน่ายสินค้าเกษตรชุมชน (Farm Outlet) ทุกจังหวัดทั่วประเทศ หลักเกณฑ์การคัดเลือกสถานที่ดำเนินการ 1.แหล่งผลิต/แหล่งท่องเที่ยว/แหล่งบริโภค 2.มีการจำหน่ายสินค้าเกษตร เกษตรแปรรูป โดย เกษตรกรรวมกลุ่มกันขาย/ เกษตรกรนำมาฝากขาย และมีผู้ดูแลบริหารจัดการ 3.พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่ของราชการ หรือ เอกชนที่ให้ความร่วมมือ 4.การคมนาคมสะดวกและมีที่จอดรถเพียงพอ การส่งเสริมและพัฒนาศูนย์ฯ 1.สร้างตราสัญลักษณ์สินค้าและสนับสนุนบรรจุภัณฑ์ 2.จัดกิจกรรมส่งเสริมการจำหน่าย 3.การเชื่อมโยงสินค้าระหว่างศูนย์ฯ และสถานที่อื่น ๆ 4.จัดงานจำหน่ายสินค้าตามเทศกาลต่าง ๆ 5.รณรงค์เพิ่มการบริโภค 6.ถ่ายทอดความรู้เชิงปฎิบัติการให้เกษตรกร เพื่อพัฒนาการผลิต สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพ 7.จัดอบรมศึกษาดูงานการแปรรูปสินค้า เพื่อนำมาพัฒนาศูนย์ฯ 8.สนันบสนุนวัสดุอุปกรณ์เพื่ออำนวยความสะดวกในการจำหน่าย 9.จัดประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่าง ๆ 10. อื่น ๆ ตามที่เหมาะสม แต่มิใช่ครุภัณฑ์ จังหวัด 31 แห่ง 1 1 ข้อมูล ณ 30 ธ. ค.58 2 โลโก้ Farm Outlet
พิธีลงนามบันทึกความร่วมมือสร้างสัมมาชีพ เต็มพื้นที่ โดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งสู่เศรษฐกิจฐานรากที่ ยั่งยืน วันพุธที่ 13 มกราคม 2559 ณ ศูนย์การ ประชุมแห่งชาติสิริกิต์