การเขียนรายงาน ผลการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา
1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2. จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่ง คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 4. ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 5. จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 6. จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา 7. จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน 8. จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมี ความรู้ความเข้าใจและทักษะใน การเขียนรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทั้ง เชิงปริมาณและคุณภาพได้อย่างมี คุณภาพ
หลักการ แนวคิดความสำคัญ นำเสนอข้อมูลสารสนเทศจาก การติดตามตรวจสอบระบบประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา ของ คณะกรรมการติดตามฯ เพื่อให้สถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้องนำผลการติดตามไปใช้ในการ ปรับปรุงและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อส่งผลต่อคุณภาพการ จัดการศึกษาตามมาตรฐานต่อไป
ประโยชน์ของรายงาน ๑. เอกสารสำคัญในการ บริหารงานคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา ๒. เป็นการสรุปบันทึก ข้อมูลสารสนเทศจากการ ติดตามตรวจสอบฯ อย่างเป็น ระบบ ๓. ผู้เกี่ยวข้อง ทราบผลการ ดำเนินงานและสามารถนำผลไป พัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษาให้ เข้มแข็งต่อไป
องค์ประกอบของรายงานผล การติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ ๒ ผลการติดตามตรวจสอบและประเมิน คุณภาพการศึกษา ส่วนที่ ๓ สรุปผลการติดตามตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพการศึกษา จุดเด่น จุดที่ควร พัฒนา และข้อเสนอแนะ ส่วนที่ ๔ ( เพิ่มเติม )
องค์ประกอบของรายงานฯ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน (p ) ๑. ข้อมูลทั่วไป ชื่อโรงเรียน ที่ตั้ง โทรศัพท์เปิดสอนระดับชั้น ๒. ข้อมูลผู้บริหาร ๓. ข้อมูลครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ๔. ข้อมูลนักเรียน
ส่วนที่ ๒ ผลการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา ( ๘ องค์ประกอบ ) (p ) ๑. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ๒. จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ๓. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
ส่วนที่ ๒ ( ต่อ ) ๔. ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของ สถานศึกษา ๕. จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา ๖. จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตาม มาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ๗. จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมิน คุณภาพภายใน ๘. จัดให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง
ส่วนที่ ๓ สรุปผลและข้อเสนอแนะ (p ) สรุปผลการติดตาม... เป็นการสรุปผลการ ประเมิน ตาม 8 องค์ประกอบ จุดเด่น..... ควรเป็นวิธีการปฏิบัติที่ดี เป็นแบบอย่าง ผู้อื่นสามารถนำไปปรับใช้ได้ จุดที่ควรพัฒนา..... เป็นประเด็นที่น่าเป็นห่วง อาจส่งผลต่อการพัฒนาด้านอื่น ๆ ข้อเสนอแนะ ควรเป็นข้อเสนอแนะเพื่อการ เติมเต็ม ต่อยอดพัฒนาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ส่วนที่ ๔ เพิ่มเติม ได้ ( ผลการประเมินภายใน ตามมาตรฐานการศึกษา ปฐมวัยและมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานของ สถานศึกษา )
ภาคผนวก 1. กำหนดการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา 2. แผนภูมิแสดงผลการติดตาม ตรวจสอบ
องค์ประกอบ / ประเด็นการตรวจสอบ ระดับ คุณภาพ คะแนน ที่ได้ 1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1.1 ศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานและตัวบ่งชี้ พิจารณาสาระสำคัญที่จะกำหนดมาตรฐานตัวบ่งชี้ ที่สะท้อนอัตลักษณ์ กำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จของแต่ละ มาตรฐาน ประกาศค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ 11
สรุปผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพ โดยภาพรวม 1. วิธีดำเนินการของสถานศึกษา ( โรงเรียนได้ดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับ การ กำหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ) 2. ผลงานที่ปรากฏจากการดำเนินงาน 3. จุดเด่น 4. จุดที่ควรพัฒนา 5. ข้อเสนอแนะ
ใบงานที่ ๔. ๒ สรุป Mind Map สะท้อนคิด สรุปองค์ความรู้การเขียน รายงานการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา - แลกเปลี่ยนประสบการณ์ - ฝึกปฏิบัติงานกลุ่ม – เดี่ยว - นำเสนอผลงาน - ประเมินตนเอง ส
ใบงานที่ ๔. ๓ สื่อสารผ่านการเขียน การตรวจสอบคุณภาพการเขียนรายงานผล การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา - แลกเปลี่ยนประสบการณ์ - ฝึกปฏิบัติงานกลุ่ม – เดี่ยว - นำเสนอผลงาน - ประเมินตนเอง ส