หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการแก้ปัญหา.
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การใช้เทคโนโลยีในการศึกษา นับว่ามีบทบาทสำคัญในการ ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้วย วิวัฒนาการและการพัฒนาทางการศึกษาที่ไม่หยุดยั้งนี้เอง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
Software Development and Management
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
บทที่ 3 จัดทำและนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ สไลด์ประกอบการสอน เรื่อง การจำลองความคิด เป็นข้อความ.
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
Collaborative problem solving
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การสอบหัวข้อ  ให้นำเสนออย่างน้อยถึงขั้นตอนการดำเนินงานวิจัยใน รูปแบบ Flow chart และอธิบายตาม Flow chart ที ละขั้นตอน  นำเสนอผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบันว่าอยู่ในระหว่าง.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
“หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม” (ง32106)
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
การออกแบบและเทคโนโลยี
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การบริหารโครงการ Project Management
การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
เข้าใจตน เข้าใจสาขา นายจิรภัทร ผดุงกิจ.
Workshop Introduction
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ใบความรู้ (Information Sheet)
Continuous Quality Improvement
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
Storyboard คืออะไร.
การเขียนโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Storyboard คืออะไร.
บทที่ 7 การบริหารงานขนส่ง ( Transportation Management System : TMS )
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทาง เทคโนโลยี วิธีแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี สารสนเทศ เป็นวิธีที่มีการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ใน การแก้ปัญหา หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน จะต้องมีการวิเคราะห์ปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้ให้ รอบคอบก่อน ต้องเลือกวิธีแก้ปัญหาให้เหมาะสมกับ งาน จัดหาเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ไม่เกินความ จำเป็น การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี สารสนเทศ เหมาะกับระบบงานที่ต้องทำงานอย่างใด อย่างหนึ่งซ้ำซาก และมีปริมาณงานมาก หรืองานที่ ต้องการความรวดเร็วในการคำนวณเกินกว่าคนธรรมดา จะทำได้

มีดังนี้ การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา การเลือกเครื่องมือ และออกแบบขั้นตอนวิธี การดำเนินการแก้ปัญหา การตรวจสอบ และการปรับปรุง ขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศ

1. การวิเคราะห์ปัญหา 2. การออกแบบโปรแกรม โดยใช้เครื่องมือในการ ออกแบบ คือ ผังงาน ผังงาน 3. การเขียนโปรแกรม 4. การทดสอบโปรแกรม 5. การจัดทำเอกสารประกอบการใช้โปรแกรม ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทาง เทคโนโลยี เครื่องมือในการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีในการ แก้ปัญหา ในการอออกแบบขั้นตอนวิธีในการ ทำงานเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ หรือการเขียน โปรแกรม จำเป็นต้องใช้เครื่องมือบางอย่าง ช่วยในการออกแบบและวิเคราะห์วิธีการ เพื่อให้ง่ายต่อการมองภาพกระบวนการ ทำงานของระบบ สามารถตรวจสอบที่ ผิดพลาด รวมทั้งหาทางปรับปรุงให้ดีกว่า เดิมได้ เครื่องมือดังกล่าวที่ง่ายที่สุด ได้แก่ ผังงาน (Flow chart) และรหัสจำลอง (Pesudo Code) เครื่องมือในการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีในการ แก้ปัญหา ในการอออกแบบขั้นตอนวิธีในการ ทำงานเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ หรือการเขียน โปรแกรม จำเป็นต้องใช้เครื่องมือบางอย่าง ช่วยในการออกแบบและวิเคราะห์วิธีการ เพื่อให้ง่ายต่อการมองภาพกระบวนการ ทำงานของระบบ สามารถตรวจสอบที่ ผิดพลาด รวมทั้งหาทางปรับปรุงให้ดีกว่า เดิมได้ เครื่องมือดังกล่าวที่ง่ายที่สุด ได้แก่ ผังงาน (Flow chart) และรหัสจำลอง (Pesudo Code)

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทาง เทคโนโลยี 1) ผังงาน (Flow chart) เป็นเครื่องมือช่วย ออกแบบและวิเคราะห์การทำงานของ โปรแกรมขั้นพื้นฐานที่สุด ช่วยให้ สามารถมองเห็นภาพของความสัมพันธ์ ระหว่างกระบวนการต่าง ๆ ของระบบหรือ โปรแกรมได้ง่าย ทำให้นำไปเขียนเป็น โปรแกรมได้อย่างถูกต้อง

ตารางแสดง ความหมายของ สัญลักษณ์

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทาง เทคโนโลยี 2) รหัสจำลอง (Pseudo Code) เป็น เครื่องมือช่วยในการออกแบบระบบงาน และโปรแกรมอีกแบบหนึ่ง โดยเขียน ขั้นตอนวิธีเป็นประโยคสั้น ๆ กะทัดรัด แต่ สื่อความหมายชัดเจน เรียงกันโดยมี หมายเลขกำกับแต่ละขั้นตอน ให้ทำงาน ตามลำดับหมายเลขและเงื่อนไขที่เขียน ไว้

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทาง เทคโนโลยี 3) วิธีการเขียนผังงาน ก่อนที่จะเขียนผัง งาน คือ เราต้องทำการวิเคราะห์ปัญหา และคิดค้นวิธีแก้ปัญหานั้นทีละขั้นตอน จากนั้นนำมาเขียนในสัญลักษณ์ผังงานที่ เหมาะสม ซึ่งการทำงานโดยทั่วไปต้องมี จุดเริ่มต้นและจุดจบ

การใช้หลักการในการแก้ปัญหาการใช้หลักการในการแก้ปัญหา 1) วิเคราะห์ปัญหาและระบบงานที่จะทำรวมถึง รายละเอียดข้อมูลที่ต้องใช้ 2) จัดทำรายละเอียดของความต้องการของ ผู้ใช้ระบบงาน (Requirements Specification) 3) ออกแบบขั้นตอนวิธีการทำงาน หรือ ออกแบบโปรแกรม (Program Design) 4) เขียนชุดคำสั่ง (Coding) 5) ทดสอบโปรแกรม (Testing) และหาที่ ผิดพลาด (Debugging) 6) การนำไปใช้งานจริง (Implementation or Operation) 7) การบำรุงรักษา การติดตามผลและการ แก้ไขปรับปรุง (Software Maintenance and Improvement) 1) วิเคราะห์ปัญหาและระบบงานที่จะทำรวมถึง รายละเอียดข้อมูลที่ต้องใช้ 2) จัดทำรายละเอียดของความต้องการของ ผู้ใช้ระบบงาน (Requirements Specification) 3) ออกแบบขั้นตอนวิธีการทำงาน หรือ ออกแบบโปรแกรม (Program Design) 4) เขียนชุดคำสั่ง (Coding) 5) ทดสอบโปรแกรม (Testing) และหาที่ ผิดพลาด (Debugging) 6) การนำไปใช้งานจริง (Implementation or Operation) 7) การบำรุงรักษา การติดตามผลและการ แก้ไขปรับปรุง (Software Maintenance and Improvement)

สรุปสรุป การแก้ปัญหาด้วยระบบสารสนเทศ จะต้องมีการวิเคราะห์ปัญหา ศึกษาข้อมูล รวมทั้งค้นคว้าหาวิธีการแก้ปัญหาและทำ การตกลงกับผู้ใช้ระบบสารสนเทศนั้นด้วย ว่า เขาต้องการแก้ปัญหานั้นอย่างไรจาก หลาย ๆ วิธีที่อาจเป็นไปได้ และอีกประการ หนึ่งก็คือ เขาต้องการผลหรือคำตอบจาก ระบบสารสนเทศในรูปแบบอย่างไร