นโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปี 2559 โดย นายแพทย์ประวัช ชวชลาศัย ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
อัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ ปี ต่อประชากรหญิงอายุ ปีพันคน : ปี 2557 รายจังหวัด รายเขตสุขภาพ โดย : สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
ที่มา: สถิติสาธารณสุข อัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ ปี ต่อหญิงอายุ ปี 1,000 คน อัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ ปี ต่อหญิงอายุ ปี 1,000 คน
ร้อยละของการคลอดซ้ำในวัยรุ่นอายุ ปี (ปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1) หมายเหตุ :: เฉพาะ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่งเท่านั้น วันที่ประมวลผล :: 29 ธันวาคม 2558 **เป็นปีแรกของการดำเนินงานเก็บข้อมูลโดยระบบ HDC ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข KPI ร้อยละ 10
หมายเหตุ :: เฉพาะ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่งเท่านั้น วันที่ประมวลผล :: 29 ธันวาคม 2558 **เป็นปีแรกของการดำเนินงานเก็บข้อมูลโดยระบบ HDC ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข KPI ร้อยละ 20
กลุ่มอายุ (ปี) จำนวนคลอด ทั้งหมด จำนวนการ คลอดซ้ำ ร้อยละของ การคลอดซ้ำ ,49014, ,27714, , ที่มา : 1. ข้อมูลการคลอด ปี พ.ศ จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข 2. วิเคราะห์ข้อมูลโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จำนวนและร้อยละของการคลอดซ้ำในวัยรุ่น จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี พ.ศ โดย : สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
ร้อยละของการใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก เปรียบเทียบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กับ นักเรียนอาชีวะชั้นปีที่ 2 นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 นักเรียนอาชีวะชั้นปีที่ 2 ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2557
ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค **โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ได้รับรายงานคือ หนองใน, หนองในเทียม, แผลริมอ่อน, กามโรคของต่อมและท่อน้ำเหลือง (แก้ไขข้อมูล ณ วันที่ 7 กันยายน 2558) อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในวัยรุ่นและเยาวชนอายุ ปี อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในวัยรุ่นและเยาวชนอายุ ปี โดย : สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
สำรวจในโรงพยาบาลทั้งในและนอกสังกัดกระทรวง สาธารณสุข 13 จังหวัด ผู้ป่วยแท้งเข้ารับการรักษาและยินยอมตอบแบบสอบถาม จาก รพ. 243 แห่ง จำนวน 1,710 ราย แท้งเอง ร้อยละ 59.7 ทำแท้ง ร้อยละ ทำแท้งที่มีเหตุผลด้านสุขภาพ ทำแท้งที่มีเหตุผลด้านเศรษฐกิจ/สังคม/ ครอบครัว 69.2 ที่มา : สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ การแท้งในประเทศไทย ปี 2557
ที่มา :สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย 2557 ร้อยละ 36.1 มีสถานภาพ นักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 30.0 อายุต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ 30.0 อายุต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ 57.5 อายุต่ำกว่า 25 ปี ร้อยละ 57.5 อายุต่ำกว่า 25 ปี ร้อยละของผู้ป่วยที่ทำแท้งจำแนกตามช่วงอายุ การทำแท้งที่มีเหตุผลทางด้านเศรษฐกิจ/สังคม/ครอบครัว
ข้อมูลสุขภาพร้อยละ ไม่ตั้งใจให้ตั้งครรภ์ครั้งนี้88.7 ไม่ได้คุมกำเนิดด้วยวิธีใดๆ45.6 ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการทำแท้ง89.7 ทำแท้งซ้ำ10.9 หมายเหตุ ผู้ป่วยทำแท้งที่มีเหตุผลด้านเศรษฐกิจ/สังคม/ครอบครัว
เหตุผลที่ทำให้ตัดสินใจทำแท้ง เหตุผลด้านสุขภาพ เหตุผลด้านเศรษฐกิจ/สังคม/ ครอบครัว
เหตุผลด้านสุขภาพ ปัญหาสุขภาพที่พบร้อยละ รวม (n=267) - ตั้งครรภ์ไข่ลม ทารกในครรภ์เสียชีวิต ทารกในครรภ์ผิดปกติ ทารกในครรภ์เป็นโรคธาลัสซีเมีย 3.0 หมายเหตุ ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
เหตุผลด้านเศรษฐกิจ/สังคม/ครอบครัว ปัญหาที่พบร้อยละ รวม (n=451) - ปัญหาทางด้านการเงิน ยังเรียนไม่จบ การตั้งครรภ์เป็นอุปสรรคต่ออาชีพ ยังไม่พร้อมที่จะแต่งงาน มีบุตรพอแล้ว คุมกำเนิดล้มเหลว8.2 - ฝ่ายชายไม่รับผิดชอบ7.6 - มีบุตรถี่เกินไป6.9 - หย่าหรือเลิกกับสามีหรือเพื่อนชาย5.8 - ไม่พร้อมมีบุตร5.4 - มีปัญหากับญาติฝ่ายชาย2.6 - ถูกข่มขืน0.9 - ฝ่ายชายมีครอบครัวแล้ว0.4 หมายเหตุ ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
โดย : สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ ร้อยละของเด็กแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำแนกตามกลุ่มอายุของแม่ ปี พ. ศ.2546 – 2557 ร้อยละของเด็กแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำแนกตามกลุ่มอายุของแม่ ปี พ. ศ.2546 – 2557 ร้อยละ หมายเหตุ 1. จำนวนการคลอดทั้งหมดและจำนวนเด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม จากสถิติสาธารณสุข ปี พ.ศ และข้อมูล ปี 2557 จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข 2. วิเคราะห์และรายงานโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย (ปรับปรุงข้อมูล ณ 3 มิ.ย. 2558)
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น สถานบริการสาธารณสุข -มีฐานข้อมูล แผนงาน และ กิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ -มีการจัดบริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน -มีระบบการดูแล/ส่งต่อ เชื่อมโยง ทุกระดับ อปท. / ครอบครัว / ชุมชน -มีแผนดำเนินการ -สนับสนุนทรัพยากร -มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัย การเจริญพันธุ์ -การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม -ครอบครัวมีการสื่อสารเรื่องเพศ -พื้นที่เรียนรู้สำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง ในรูปแบบโรงเรียนพ่อแม่ สถานศึกษา -มีการสอนเพศวิถีศึกษา -จัดกิจกรรมการเรียนรู้ -มีระบบการดูแล ช่วยเหลือ นักเรียน -พัฒนาแกนนำวัยรุ่น นโยบาย / ระบบเฝ้าระวัง/ การติดตามและประเมินผล เป้าหมาย 1.ชะลอการมี เพศสัมพันธ์ 2.เพศสัมพันธ์ที่ ปลอดภัย 3.การตั้งครรภ์ที่ พร้อม
สาระสำคัญ พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ. ศ. ๒๕๕๙ สาระสำคัญ พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ. ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๕ วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเองและมีสิทธิได้รับข้อมูล ข่าวสารและความรู้ ได้รับการบริการอนามัย การเจริญพันธุ์ ได้รับการรักษาความลับและความเป็น ส่วนตัว ได้รับการจัดสวัสดิการสังคมอย่างเสมอภาค และไม่ถูกเลือกปฏิบัติ และได้รับสิทธิอื่นใดที่เป็นไป เพื่อประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนและเพียงพอ
มาตรา ๖ ให้สถานศึกษาดำเนินการป้องกันและแก้ไข ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ดังต่อไปนี้ (๑) จัดให้มีการเรียนการสอนเรื่องเพศวิถีศึกษาให้เหมาะสม กับช่วงวัยของนักเรียนหรือนักศึกษา (๒) จัดหาและพัฒนาผู้สอนให้สามารถสอนเพศวิถีศึกษาและ ให้คำปรึกษาในเรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แก่นักเรียนหรือนักศึกษา (๓) จัดให้มีระบบการดูแล ช่วยเหลือ และคุ้มครองนักเรียนหรือ นักศึกษา ซึ่งตั้งครรภ์ให้ได้รับการศึกษาด้วยรูปแบบที่เหมาะสมและ ต่อเนื่อง รวมทั้งจัดให้มีระบบการส่งต่อให้ได้รับบริการอนามัย การเจริญพันธุ์และการจัดสวัสดิการสังคมอย่างเหมาะสม การกำหนดประเภทของสถานศึกษาและการดำเนินการของ สถานศึกษาแต่ละประเภท ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๗ ให้สถานบริการดำเนินการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ดังต่อไปนี้ (๑) ให้ข้อมูลข่าวสารและความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแก่ผู้รับบริการซึ่งเป็นวัยรุ่น อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ (๒) จัดให้มีบริการให้คำปรึกษาและบริการอนามัย การเจริญพันธุ์ที่ได้มาตรฐานสำหรับผู้รับบริการซึ่งเป็นวัยรุ่น ที่ได้มาตรฐานและสอดคล้องกับสิทธิตามมาตรา ๕ รวมทั้ง จัดให้มีระบบการส่งต่อให้ได้รับสวัสดิการสังคมอย่างเหมาะสม การกำหนดประเภทของสถานบริการและการดำเนินการ ของสถานบริการ แต่ละประเภทให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๘ ให้สถานประกอบกิจการดำเนินการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ดังต่อไปนี้ (๑) ให้ข้อมูลข่าวสารและความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแก่ลูกจ้างซึ่งเป็นวัยรุ่นอย่าง ถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ (๒) จัดหรือสนับสนุนให้ลูกจ้างซึ่งเป็นวัยรุ่นเข้าถึง บริการให้คำปรึกษาและบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ รวมทั้ง จัดให้มีระบบการส่งต่อให้ได้รับสวัสดิการสังคมอย่างเหมาะสม การกำหนดประเภทของสถานประกอบกิจการและการ ดำเนินการของสถานประกอบกิจการแต่ละประเภทให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๙ การจัดบริการให้มีสวัสดิการสังคมที่เกี่ยวกับ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวงดังต่อไปนี้ (๑) ส่งเสริมสนับสนุนให้สภาเด็กและเยาวชนระดับจังหวัดและ ระดับอำเภอสร้างเครือข่ายเด็กและเยาวชนในพื้นที่เพื่อเป็น แกนนำป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (๒) ส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐและหน่วยงานของเอกชน ที่เกี่ยวข้อง ทำหน้าที่ประสานงาน เฝ้าระวัง และให้ความ ช่วยเหลือแก่วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์และครอบครัว (๓) จัดให้มีการฝึกอาชีพตามความสนใจและความถนัดแก่แม่วัยรุ่น ที่ประสงค์จะเข้ารับการฝึกอาชีพ และประสานงานเพื่อจัดหางาน ให้แก่แม่วัยรุ่นได้ประกอบอาชีพตามความเหมาะสม
(๔) จัดหาครอบครัวทดแทนในกรณีที่แม่วัยรุ่น ไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยตนเองได้ (๕) จัดสวัสดิการสังคมในด้านอื่นๆเพื่อส่งเสริม การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดใน กฎกระทรวง
มาตรา ๑๐ ให้ราชการส่วนท้องถิ่นมี อำนาจหน้าที่ดำเนินการให้วัยรุ่นในเขต ราชการส่วนท้องถิ่นได้รับสิทธิตามมาตรา ๕ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการตาม วรรคหนึ่ง ให้ราชการส่วนท้องถิ่นมีอำนาจ ออกข้อบัญญัติท้องถิ่นตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
เป้าหมาย ลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยพิจารณาจาก การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นลงครึ่งหนึ่ง ภายใน พ.ศ. ๒๕๖๙ เมื่อเทียบกับ พ.ศ. ๒๕๕๘
25 สวัสดี