เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ รับยาต้านไวรัสเอชไอวีในโรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี รายงานการวิจัย ความพึงพอใจของ นายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ รุ่นปีการศึกษา 2546 เสนอสภามหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ลิ้มปองทรัพย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เลขที่ 2 ถนนมหาราช แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะ.
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
การวัด Measurement.
เรื่อง ปัจจัยจูงใจการเข้า ศึกษาใน วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญา ภิวัฒน์ ของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น โดย นายกิตติภูมิ พานทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญา ภิวัฒน์
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ผู้วิจัย รจนา บัวนัง หลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ปีการศึกษา 2553
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
วิธีการหาองค์ประกอบขยะมูลฝอย
Stress and Coping with Stress among Youths in the Child and
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ยาเสพติด และชีวิตร่างกาย (คดีร้ายแรง) ของเด็กและเยาวชน ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล การศึกษาโดยใช้ทฤษฎีการควบคุมตนเอง.
เพศอายุร้อยละ ชาย หญิง อายุ อายุ ปี 5311 อยุ ปี อายุ ปี อายุ ปี อายุ ปี 5512 อายุ 60 ปีขึ้นไป.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
ระบบรายงานผลการปฏิบัติงานข้อมูลเอดส์ จากเวปไซด์ สปสช. ด้วยโปรแกรม NAP_Report ธงชัย ตั้งจิตต์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในการ รักษา ด้วย... การเสริมพลังอำนาจในกลุ่มผู้ ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลอากาศอำนวย อำเภออากาศอำนวย จังหวัด สกลนคร.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
PATIENT IDENTIFICATION
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
กลุ่มเกษตรกร.
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
Reff: นายพีรวัฒน์ ตั้งตระกูล สสจ.นครพนม นายประดอม ไพสน สสจ.บึงกาฬ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ รับยาต้านไวรัสเอชไอวีในโรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาแบบตัดขวาง (Cross sectional study) เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่ตุลาคม กรกฏาคม 2558 ใช้เครื่องมือวัดระดับคุณภาพชีวิตขององค์การ อนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนา วิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิตโดยใช้ค่าร้อย ละ วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตโดยใช้การ วิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression Analysis) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษา คุณลักษณะส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างจำนวน 150 คน เพศหญิง ร้อยละ 60.8 ส่วนใหญ่มีอายุ ปี ร้อยละ 72 มีสถานภาพสมรส ร้อยละ 62.5 จบ การศึกษาสูงสุดระดับต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้นร้อยละ 62.5 อาชีพส่วนใหญ่รับจ้าง ร้อยละ 54.1 มีรายได้ต่อ เดือนอยู่ในช่วง 2,000-5,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 45.1 ความพอเพียงของรายได้ส่วนใหญ่มีรายได้ เพียงพอ ร้อยละ 68.3 ระยะเวลาที่ทราบว่าติดเชื้อเอชไอ วีส่วนใหญ่ทราบว่าติดเชื้อเอชไอวีมากกว่า 6 ปี ร้อยละ 42 ระดับ CD4 ในการตรวจครั้งหลังสุด ส่วนใหญ่มีระดับ เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลิเมตร ร้อยละ 58.0 และ ระยะเวลาที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี ส่วนใหญ่รับยามา 1-3 ปี ร้อยละ 52.6 ระดับคุณภาพชีวิต โดยรวมอยู่ในระดับปาน เมื่อจำแนกเป็นรายองค์ประกอบ พบว่า มี องค์ประกอบของคุณภาพชีวิตด้านร่างกายส่วนใหญ่ อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 80.5 องค์ประกอบของคุณภาพชีวิตด้านจิตใจส่วนใหญ่อยู่ ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 60.0 ด้าน ความสัมพันธ์ทางสังคมส่วนใหญ่อยู่ในระดับปาน กลาง คิดเป็นร้อยละ 68.9 และองค์ประกอบของ คุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 72.6 สรุปผลการศึกษา ระดับคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วย เอดส์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อพบว่า ระดับการศึกษาต่ำ กว่ามัธยมศึกษาตอนต้น อาชีพว่างงาน / งานบ้าน อาชีพเกษตรกรรม อาชีพ ระยะเวลาที่ทราบว่าติดเชื้อ เอชไอวี ระดับ CD4 ครั้งหลังสุด ระยะเวลาที่ได้รับยา ต้านเอชไอวี เป็นปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ปัจจัย R- Square R95% CIp-value ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล เพศ ชาย หญิง อายุ ( ปี ) สถานภาพสมรส สมรส โสด หม้าย หย่า / แยกกันอยู่ จบการศึกษาสูงสุด ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย อาชีพ ว่างงาน / งานบ้าน เกษตรกรรม รับจ้าง รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ( บาท ) ความพอเพียงของรายได้ เพียงพอ ไม่เพียงพอ ระยะเวลาที่ทราบว่าติดเชื้อเอชไอวี ( ปี ) ระดับ CD 4 ครั้งหลังสุด ระยะเวลาที่ได้รับยาต้านไวรัสเอช ไอวี ( ปี ) Ref Ref Ref Ref , , , , , , , , , , , , , การนำไปใช้ประโยชน์ แผนภูมิแสดงปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ที่รับยาต้านไวรัสเอชไอวี ผลการศึกษานี้สะท้อนให้เห็นว่าผู้ติดเชื้อเอชไอวีและ ผู้ป่วยเอดส์ จะมีความเป็นอยู่และมีคุณภาพชีวิตที่ดี จะต้องมีสุขภาพกายที่แข็งแรง มีสภาพจิตใจที่ดี มี ความสัมพันธ์ทางสังคมที่ดี มีสิ่งแวดล้อมที่ดี ตลอดจนได้รับการ สนับสนุน ทางสังคมอย่างเหมาะสม ข้อมูลที่ได้จากการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์และสามารถ ใช้เป็นแนวทางในการทำงานของบุคลากรและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบบริการดูแลผู้ติด เชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ให้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งการ จัดการสนับสนุนทางสังคมได้อย่างเหมาะสม