แนวทางการดำเนินงานและแลกเปลี่ยน สู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ 2559 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดย คุณณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
Good Morning.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD คปสอ. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ให้บริการ 1. คัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง.
รูปแบบการดำเนินงานเพื่อลด โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ สำนักโรคไม่ติดต่อ 12 ม.ค
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานและแลกเปลี่ยน สู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ 2559 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดย คุณณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุม โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ CVD องค์กรหัวใจดี CKD DM HT Stroke Cancer CKD

ชุมชน สถานบริการ บทบาทส่วนกลาง -การสื่อสารเตือนภัย รณรงค์ เพื่อสร้าง ความตระหนักโรค CVD ผ่านช่องทาง ต่างๆ เช่น สื่อท้องถิ่น สื่อบุคคล -การสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมี สุขภาพดี เช่น สถานที่ออกกำลังกาย ผ่าน ตำบลจัดการสุขภาพ - สังเกตสัญญาณเตือนของโรคหัวใจขาด เลือดและโรคหลอดเลือดสมอง ในกลุ่มเสี่ยงสูง - การติดตามเยี่ยมบ้านโดย จนท.สธ. ร่วมกับ อสม. (ในกลุ่มเสี่ยงสูง) - ประเมิน CVD Risk ใน ผู้ป่วย DM HT - การจัดบริการตามความเสี่ยง  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามความ เสี่ยงแบบเข้มข้นหรือแบบรีบด่วน  การดูแล รักษาตามกลุ่มเสี่ยง และให้ยาตามข้อบ่งชี้ - รายงานผลการดำเนินงาน KPT : อัตราป่วย IHD รายใหม่ลดลง บทบาท 1. สนับสนุนคู่มือและโปสเตอร์การประเมิน CVD risk ในผู้ป่วย DM/HT 2. สนับสนุนโปรแกรม/อบรมการใช้ โปรแกรมคัดกรอง CVD risk 3. สนับสนุนคู่มือให้เกิดการจัดการตนเอง ของกลุ่มเสี่ยงต่อ CVD สำหรับ อสม. 4. แบบรายงานผลการดำเนินงาน ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง ต่อ CVD ร้อยละ 60 กลุ่มเสี่ยงสูง (> 30% ได้รับ บริการเข้มข้น ร้อยละ 50) PT DM HT ได้รับการคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า -อัตราป่วย IHD รายใหม่ลดลง -PT DM HT ควบคุมได้ -กลุ่มเสี่ยงสูงควบคุมปัจจัย เสี่ยงได้ /โอกาสเสี่ยงลดลง เป้าหมา ย

การดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ประจำปีงบประมาณ 2559 พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดที่มีอัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือดสูง(IHD) ใน 15 จังหวัดแรกใน ปีพ.ศ เขต.1เขต.3 เขต.4เขต.5 เขต.6 เขต.11 แพร่ น่าน นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี อ่างทอง สระบุรี อยุธยา นครนายก ลพบุรี สิงห์บุรี ราชบุรี จันทบุรี พังงา ชุมพร

เป้าหมาย : ลดและชะลออัตราการป่วยและอัตราตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มเป้าหมาย 15 จังหวัด ชุมชน สถานบริการ เครือข่าย/องค์กรหัวใจดี -การสื่อสารเตือนภัย รณรงค์ เพื่อสร้าง ความตระหนักโรค CVD ผ่านช่องทาง ต่างๆ เช่น สื่อท้องถิ่น สื่อบุคคล -การสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมี สุขภาพดี เช่น สถานที่ออกกำลังกาย ผ่าน ตำบลจัดการสุขภาพ - สังเกตสัญญาณเตือนของโรคหัวใจขาด เลือดและโรคหลอดเลือดสมอง ในกลุ่มเสี่ยงสูง - การติดตามเยี่ยมบ้านโดย จนท.สธ. ร่วมกับ อสม. (ในกลุ่มเสี่ยงสูง) - ประเมิน CVD Risk ใน ผู้ป่วย DM HT - การจัดบริการตามความเสี่ยง  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามความ เสี่ยงแบบเข้มข้นหรือแบบรีบด่วน  การดูแล รักษาตามกลุ่มเสี่ยง และให้ยาตามข้อบ่งชี้ - รายงานผลการดำเนินงาน -ค้นหากลุ่มเสี่ยง*ในองค์กร -จัดกิจกรรมลดเสี่ยง ในองค์กร -รายงานผลการดำเนินงาน/สรุปผล รายงานการดำเนินงานฯ *กลุ่มเสี่ยง คือ กลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยง -BMI≥25 -รอบเอว ช. >90 cm ญ. >80 cm -ออกกำลังกาย< 30 นาทีต่อวัน 3 วัน ต่อ สัปดาห์ -การรับประทานอาหารเค็มและไขมันสูง -สูบบุหรี่ สิ่งสนับสนุน 1. สนับสนุนคู่มือและโปสเตอร์การประเมิน CVD risk ในผู้ป่วย DM/HT 2. สนับสนุนโปรแกรม/อบรมการใช้โปรแกรมคัดกรอง CVD risk 3. สนับสนุนคู่มือให้เกิดการจัดการตนเองของกลุ่มเสี่ยงต่อ CVD สำหรับ อสม. 4. แบบรายงานผลการดำเนินงาน 1. สนับสนุนคู่มือดำเนินงานองค์กรหัวใจดีให้กับผู้ ประสานงานหลักของ สคร./สสจ./เทศบาล 2. การประชุมชี้แจงผู้รับผิดชอบหลักของเทศบาลและ สสจ. ใน 15 เทศบาล 3. จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยง*ใน 15 เทศบาลและ ชุดเครื่องมือสนับสนุนกลุ่มเสี่ยงในการดำเนินงานองค์กร หัวใจดี 4. แบบรายงานผลการดำเนินงาน กรอบการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ประจำปีงบประมาณ 2559 บทบาทส่วนกลาง บทบาทพื้นที่

แนวทางการดำเนินงานเพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)ประจำปีงบประมาณ 2559 ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในสถานบริการ กลุ่มเสี่ยงปานกลางRisk < 20% กลุ่มเสี่ยงสูงRisk 20-<30% กลุ่มเสี่ยงสูงมากRisk >30% เป้าหมาย: การควบคุมระดับน้ำตาลใน เลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ใน เกณฑ์ที่ควบคุมได้ กิจกรรมสำคัญ -ให้การดูแลตาม CPG DM HT - ให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับการลดปัจจัยเสี่ยง หลักที่เป็นปัญหารายบุคคล ได้แก่ การ ควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิต ระดับคอเรสเตอรอล รอบเอว การสูบบุหรี่ - ได้รับยาตามข้อบ่งชี้ ได้แก่ ยาลดไขมัน ยา DM HTยาลดระดับน้ำตาล ยาแอสไพริน - ติดตามการประเมินCVD Risk ทุก 1 ปี เป้าหมาย : การลด/ชะลอโอกาสเสี่ยงต่อการ เกิดโรค CVD กิจกรรมสำคัญ -ให้การดูแลตาม CPG DM HT -ให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับการลดปัจจัยเสี่ยงที่เป็น ปัญหารายบุคคล ได้แก่ การควบคุมระดับ น้ำตาลและระดับความดันโลหิต ระดับคอ เรสเตอรอล รอบเอว การสูบบุหรี่ - การพบทีมสหวิชาชีพตามปัจจัยเสี่ยงของแต่ละ บุคคลเพื่อรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น ตามปัจจัยเสี่ยงหลัก เช่น การสูบบุหรี่ /ด้านโภชนาการ / ด้านยา /ด้านการออกกำลังกาย และด้านสุขภาพจิต - ได้รับยาตามข้อบ่งชี้ ได้แก่ ยาลดไขมัน ยา DM HTยาลดระดับน้ำตาล ยาแอสไพริน - ติดตามการประเมินCVD Risk ทุก 6-12 เดือน เป้าหมาย : การป้องกันการเกิดโรค CVD กิจกรรมสำคัญ - ให้การดูแลตาม CPG DM HT - ให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับการลดปัจจัยเสี่ยงที่เป็นปัญหา รายบุคคล ได้แก่ การควบคุมระดับน้ำตาลและระดับ ความดันโลหิต ระดับคอเรสเตอรอล รอบเอว การสูบ บุหรี่ - การพบทีมสหวิชาชีพตามปัจจัยเสี่ยงรายบุคคลเพื่อรับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นตามปัจจัยเสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่ /ด้านโภชนาการ / ด้านยา /ด้านการ ออกกำลังกาย และด้านสุขภาพจิต - ได้รับยาตามข้อบ่งชี้ ได้แก่ ยาลดไขมัน ยา DM HT ยาลดระดับน้ำตาล ยาแอสไพริน - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคลอย่างเข้มข้นตาม สหปัจจัยเสี่ยง - การได้รับการเฝ้าระวังอาการเตือนของโรคหัวใจขาด เลือด(MI)และโรคหลอดเลือดสมอง(TIA)และส่งต่อ ตาม Service plan สาขาโรคหัวใจ - ติดตามการประเมิน CVD Risk ทุก 3-6 เดือน

บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ประสาน/เป็นพี่เลี้ยงให้จังหวัด กลุ่มเป้าหมาย แนะนำให้คำปรึกษา สนับสนุนองค์ความรู้ ขับเคลื่อนให้เกิด การดำเนินงาน -ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ทั้งในส่วนของสถานบริการและชุมชน พร้อมทั้งรายงานผลทุก 6 เดือน ให้กับ สำนักโรคไม่ติดต่อ - ชี้แจง/ประสาน/เป็นพี่เลี้ยง/แนะนำให้คำปรึกษา สนับสนุน องค์ความรู้ เพื่อให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดให้กับใน สถานบริการลูกข่าย (สสอ./รพ.ศ./รพ.ท/รพช./รพ.สต/ เทศบาล) -ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานทั้งในส่วนของสถาน บริการและเทศบาล พร้อมทั้งรายงานผลทุก 6 เดือน ให้กับ สคร. - สรุปผลการดำเนินเป็นรูปเล่ม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - จัดหาเทศบาลเข้าร่วมโครงการองค์กรหัวใจดีจังหวัดละ 1 แห่ง - ร่วมเป็นวิทยากร ร่วมติดตาม

ผู้ประสานงานโครงการ ติดต่อ : กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เบอร์โทรศัพท์ เบอร์โทรสาร การดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง 1.นางสาวธิดารัตน์ อภิญญา เบอร์โทรศัพท์ นางสาวนุชรี อาบสุวรรณ เบอร์โทรศัพท์ นางสาวณัฐธิดา ชำนิยันต์ เบอร์โทรศัพท์ การดำเนินงานเพื่อลดโรคหัวใจและหลอดเลือด 1. นางณัฐธิวรรณ พันธ์มุง เบอร์โทรศัพท์ นางสาวหทัยชนก ไชยวรรณ เบอร์โทรศัพท์ นางสาววิภารัตน์ คำภา เบอร์โทรศัพท์ การดำเนินงานในเทศบาล 1.นางเพชราภรณ์ วุฒิวงศ์ชัย เบอร์โทรศัพท์ นางสาวนุชรี อาบสุวรรณ เบอร์โทรศัพท์ นางสาวณัฐสุดา แสงสุวรรณโต เบอร์โทรศัพท์ องค์กรหัวใจดี

กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นางณัฐธิวรรณ พันธ์มุง หัวหน้ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นางณัฐธิวรรณ พันธ์มุง หัวหน้ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นางเพชราภรณ์ วุฒิวงศ์ชัย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ นางเพชราภรณ์ วุฒิวงศ์ชัย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ นางวรกร ไหมอุ้ม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ นางวรกร ไหมอุ้ม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ นางสาวพิมพ์รดา สิริจิตต์ธงชัย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ นางสาวเพียงใจ ทองวรรณดี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน นางสาวเพียงใจ ทองวรรณดี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน น.ส.ณัฐธิดา ชำนิยันต์ นักวิชาการสาธารณสุข น.ส.ณัฐธิดา ชำนิยันต์ นักวิชาการสาธารณสุข น.ส.นุชรี อาบสุวรรณ นักวิชาการสาธารณสุข น.ส.นุชรี อาบสุวรรณ นักวิชาการสาธารณสุข น.ส.ธิดารัตน์ อภิญญา นักวิชาการสาธารณสุข น.ส.ธิดารัตน์ อภิญญา นักวิชาการสาธารณสุข น.ส.ณัฐสุดา แสงสุวรรณโต นักวิชาการสาธารณสุข น.ส.ณัฐสุดา แสงสุวรรณโต นักวิชาการสาธารณสุข น.ส.วิภารัตน์ คำภา นักวิชาการสาธารณสุข น.ส.วิภารัตน์ คำภา นักวิชาการสาธารณสุข น.ส.หทัยชนก ไชยวรรณ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ น.ส.หทัยชนก ไชยวรรณ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ ที่ปรึกษากลุ่ม รม. แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ ที่ปรึกษากลุ่ม รม.