ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนการสอน
Advertisements

TRLEM TU RS ES LS ME.
Getting Started with e-Learning
จัดการสัมมนาโดย สำนักบริหารวิชาการ พฤษภาคม 2550
ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
Work Shop การพัฒนาหลักสูตรสำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชา การตลาดระหว่างประเทศ
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
Company LOGO นวัตกรรมและ เทคโนโลยีทางการ สอน Instructional Technology and Innovation ผศ. ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
เพศศึกษา ในศตวรรษที่ 21.
การนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
E- Learning e- Learning นพ. สิทธิโชค อนันตเสรี ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์
Knowledge Management Reform to Innovation in Higher Education for The World Sustainable Development.
ดร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ
LOGO Open Source Software ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข Your Company Slogan.
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
EEN3204 การออกแบบและผลิตสื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 2 (1-2-3)
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
WWW (World Wide Web) พัฒนาขึ้นมาในช่วงปลายปี 1989 โดยทิม เบอร์เนอร์ ลี นัก วิศวกรรมซอฟต์แวร์ จาก ห้องปฏิบัติการทางจุลภาคฟิสิกส์แห่ง ยุโรป (European Particle.
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
(Instructional Media)
Project based Learning
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
Health Promotion & Environmental Health
Educational Information Technology
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
การสอบที่มีประสิทธิภาพ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
Introduction to information System
Introduction to information System
โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
เครือข่ายการเรียนรู้
EDT2303 การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการศึกษา 3 (2-2-5)
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
หลักสูตร ครูฝึกใหม่ รุ่น 63
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
วัตถุประสงค์การวิจัย
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ประสบการณ์การสอน นักศึกษาทางไกล Student centered : ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง... คุณลักษณะ ภูมิหลัง ความรู้ ประสบการณ์ พฤติกรรม ความต้องการ ความคาดหวัง Student centered : ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง... คุณลักษณะ ภูมิหลัง ความรู้ ประสบการณ์ พฤติกรรม ความต้องการ ความคาดหวัง Learning in the digital age: Learning in the digital age: digital environment, digital education, digital media, digital library, digital citizen, digital literacy

ลักษณะและพฤติกรรม นักศึกษาทางไกล ส่วนใหญ่เป็นวัยทำงานและทำงานเต็มเวลา ส่วนใหญ่เป็นวัยทำงานและทำงานเต็มเวลา มีครอบครัวและภาระรับผิดชอบ มีครอบครัวและภาระรับผิดชอบ มีแรงจูงใจ ความตั้งใจ มุ่งมั่นและมีความ รับผิดชอบสูง มีแรงจูงใจ ความตั้งใจ มุ่งมั่นและมีความ รับผิดชอบสูง มีเป้าหมายในการศึกษาชัดเจน มีเป้าหมายในการศึกษาชัดเจน มีวินัย สามารถควบคุมตนเองในการเรียน บางครั้งรู้สึกโดดเดี่ยว มีวินัย สามารถควบคุมตนเองในการเรียน บางครั้งรู้สึกโดดเดี่ยว การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเข้าถึงบริการห้องสมุด แหล่งสารสนเทศ รวมทั้งบริการต่าง ๆ ผ่านเครือข่าย การเข้าถึงบริการห้องสมุด แหล่งสารสนเทศ รวมทั้งบริการต่าง ๆ ผ่านเครือข่าย

การจัดการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับ นักศึกษาทางไกล ให้คุณค่าภูมิหลัง ความรู้และประสบการณ์ของ นักศึกษา สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้และมี ความหมายสำหรับนักศึกษา สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้และมี ความหมายสำหรับนักศึกษา สร้างแรงจูงใจและบรรยากาศของการเรียนรู้ที่เป็น มิตร สร้างแรงจูงใจและบรรยากาศของการเรียนรู้ที่เป็น มิตร ใช้การเรียนรู้แบบผสมผสาน (blended learning ) เทคนิค ใช้การเรียนรู้แบบผสมผสาน (blended learning ) เทคนิค วิธีการสอน และสื่อที่หลากหลาย โดยผู้สอนมี บทบาทเป็นผู้เอื้ออำนวย การเรียนรู้ วิธีการสอน และสื่อที่หลากหลาย โดยผู้สอนมี บทบาทเป็นผู้เอื้ออำนวย การเรียนรู้ เน้นการเรียนรู้ “Learning how to learn” บูรณา การทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้น สมรรถนะการใช้เทคโนโลยี เน้นการเรียนรู้ “Learning how to learn” บูรณา การทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้น สมรรถนะการใช้เทคโนโลยี

การพัฒนาสมรรถนะการเรียนรู้ด้วยตนเอง (self – directed learner) การพัฒนาสมรรถนะการเรียนรู้ด้วยตนเอง (self – directed learner) การเรียนรู้ตลอดชีวิต (lifelong learner) การรู้ สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (information, media and technology skills ) digital literacy การเรียนรู้ตลอดชีวิต (lifelong learner) การรู้ สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (information, media and technology skills ) digital literacy

Source:

ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ เว็บ และใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ และ การเข้าถึงแหล่งวิทยาการ ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ เว็บ และใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ และ การเข้าถึงแหล่งวิทยาการ ใช้รูปของกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การทำ รายงาน การสัมมนาแบบเผชิญหน้า การสัมมนา ออนไลน์ ใช้รูปของกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การทำ รายงาน การสัมมนาแบบเผชิญหน้า การสัมมนา ออนไลน์ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ความยืดหยุ่น คล่องตัว ความแน่วแน่ ผูกพัน ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ความยืดหยุ่น คล่องตัว ความแน่วแน่ ผูกพัน

สิ่งท้าทาย การหลอมรวมของสื่อ (convergence of media) การหลอมรวมของสื่อ (convergence of media) การเรียนการสอนที่ไร้เส้นแบ่งระหว่างการเรียนแบบมีชั้น เรียนและทางไกล การเรียนการสอนที่ไร้เส้นแบ่งระหว่างการเรียนแบบมีชั้น เรียนและทางไกล การเรียนการสอนแบบไร้พรมแดน eLearning/online learning is a better alternative to face to face learning การเรียนการสอนแบบไร้พรมแดน : eLearning/online learning is a better alternative to face to face learning