INTRODUCTION ความหมายของการสัมมนา (Seminar) สัมมนาคือ …. การประชุม (Meeting) แบบหนึ่งในหลายรูปแบบ สัมมนา แปลว่า ร่วมใจ (Meeting of minds) สัมมนาเป็นการประชุมร่วมกันขบคิด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
INTRODUCTION TO HEALTH ECONOMICS
Advertisements

Orientation for graduate students in Food Engineering
Doing a Computer Science Research Prabhas Chongstitvatana Department of Computer Engineering Chulalongkorn University 15 June 2010
Do Research Prabhas Chongstitvatana Chulalongkorn University 13 September 2013
Seminar in computer Science
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
1 หัวใจหาคู่.. แรก... รู้จัก เพื่อนรัก.. Buddy 2 Part 1Conceptual Background Productivity & Myself Part 2IE Techniques for Productivity Improvement Part.
เศรษฐกิจ FTA Trade Barrier (NTB) Hub CM. การเมือง วิสัยทัศน์ผู้นำ นโยบายผู้ว่า CEO นโยบาย Food Safety การเมืองมีพรรคใหญ่ 2 พรรค ความโปร่งใส เผด็จการ และ.
Computer Seminar (310492) สัมมนาทางคอมพิวเตอร์
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร บริษัท บุ๊ค โปรชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด xrefer.
IMMA SEMINAR Structure & Approaches. Main Content 1.Seminar in General Meaning 2.Seminar in IMMA (objective) 3.Searching and Choosing a Topic 4.Structures.
Magic Gas Group 5 Uniworld Indicator Magic Gas Group 5 Uniworld IndicatorM.1/5.
ZWSP Word break, Space and Search Engine Wason Liwlompaisan Blognone Co-Founder, Software Developer, most of all I'm just a geek.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
Faculty of Information Science and Technology, MUT 13/8/59 IS/Thesis OverviewIS/Thesis Overview.
การกำกับดูแล ตนเองที่ดี สรวิชญ์ เปรมชื่น ที่ปรึกษา สมาคมส่งเสริม ผู้ประกอบการวิสาหกิจ.
องค์ประกอบของ บทความวิชาการ
ICT in KM 03: เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานร่วมกันเป็นทีม
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
การคิด/หาหัวข้อวิจัย (วิทยานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย การเขียนเอกสารโครงเรื่องวิจัย
การเขียน Concept Paper & Full Proposal
การบริหารธุรกิจ MICE Chapter 7 TD 451.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง ธุรกิจระหว่างประเทศ
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
โครงการอบรมผู้บริหารมหาวิทยาลัยนเรศวร รุ่นที่ 4
การเขียนรายงานการสอบสวนทางระบาดวิทยา
GS 3305 Research in Educational Administration
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Independent Study (IS)/Thesis
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย การเขียนเอกสารแนวความคิดในการวิจัย
Computer Project I โครงงานด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 1(0-3)
วิจัยทางการพยาบาล ดร.อัญชลี จันทาโภ.
Techniques Administration
Introduction to information System
Introduction to information System
โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การดำเนินงานของคลัสเตอร์พลังงานResearch University Network – Energy
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
Review of the Literature)
รายวิชา วรรณกรรมนาฏยศิลป์พื้นเมือง Literature of Folk Dance
“แนวทางการเขียนหนังสือ – ตำรา”
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานทางวรรณคดีไทย
Scholarships Chayooth Theeravithayangkura
กิจกรรมที่ 1 ให้นักศึกษาทำภาระกิจตามสถานการณ์ปัญหาที่กำหนด ซึ่งมี 4 สถานการณ์ปัญหา โดยให้ศึกษา และค้นคว้าจาก Internet หรือห้องสมุด แล้วสรุปตามความคิดของตนเอง.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
วิชา การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
วัตถุประสงค์การวิจัย
การเขียนย่อหน้า.
นักวิชาการกับงานวิชาการเพื่อสังคม (และตำแหน่งทางวิชาการ)
Introduction to Public Administration Research Method
เทคนิคการนำเสนองาน Research Methodology.
วัน เวลา และห้องสอบ เวลาสอบวันอังคารที่ 30 เมษายน 2562 เวลา 8.00 – สอบที่อาคารคณะนิติศาสตร์ (ห้อง 1401 และ 1404) ที่ปกสมุดคำตอบทุกเล่ม ต้องเขียนsection.
Introduction to Public Administration Research Method
เขียนบทความวิจัยอย่างไร ในวารสารวิชาการนานาชาติ
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson
บทที่ 5 การเขียนตอบข้อสอบอัตนัย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

INTRODUCTION ความหมายของการสัมมนา (Seminar) สัมมนาคือ …. การประชุม (Meeting) แบบหนึ่งในหลายรูปแบบ สัมมนา แปลว่า ร่วมใจ (Meeting of minds) สัมมนาเป็นการประชุมร่วมกันขบคิด ปัญหา โดยอาศัยการค้นคว้าเป็น หลักฐาน Seminar : “a group of students studying under a professor, doing original research and study and then discussing the result”

คำว่า seminar มาจาก ภาษาลาตินว่า "seminarium" แปลว่า แปลงเพาะเมล็ดพันธุ์ ภาษาลาติน ส่วนคำ " สัมมนา " มาจาก คำภาษาบาลีสมาสกัน คือ สํ ( รวม ) + มนา ( ใจ ) = รวมใจภาษาบาลี

สัมมนา ( อังกฤษ : seminar) ปรกติหมายถึง รูปแบบหนึ่งของการเรียนการสอนใน ระดับอุดมศึกษาหรือบริษัทต่าง ๆ โดย แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มเล็กเพื่ออภิปราย เรื่องราวเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของบทเรียน ด้วยบทบาทที่สูง อังกฤษการเรียนการสอน ระดับอุดมศึกษาบริษัท ปรัชญาเบื้องหลังการเรียนการสอน แบบสัมมนา ได้แก่ การสอนผู้เรียนให้เผชิญ และคุ้นเคยกับวิธีการ (methodology) ในการ ค้นคว้าสาขาวิชาการที่ตนเลือก สัมมนา ประกอบด้วยการการยกปัญหา การถาม - ตอบ แล้วอภิปรายหาข้อสรุปหรือคำตอบ ปกติ เอกสารที่เตรียมมาสัมมนาจะต้องเป็นเอกสาร ที่มีรูปแบบวิชาการและจะต้องมีการวิจารณ์ ซึ่งกันและกัน สัมมนาใช้มากในการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาวิธีการ

Introduction to Seminar

INTRODUCTION สัมมนา เป็นเทคนิคการสอนที่กลุ่มผู้เรียน ศึกษาเรื่องที่ตนทำวิจัยหรือเป็นความรู้ ระดับสูง ผู้เรียนจะต้องเรียนโดยการนำและ ดูแล จากผู้สอน ด้วยวิธีการอภิปราย รายงานวิจัยที่เป็นหัวข้อที่ผู้สอนและผู้เรียน มีความสนใจร่วมกัน (Good, 1987) สัมมนาเป็นการจัดสอนแบบสัมมนา เป็นการ เพิ่มพูนความรู้โดยผู้เรียนและผู้สอนช่วยกัน เลือกเรื่องที่จะนำมาเรียนรู้ร่วมกัน เช่น การ ที่ผู้เรียนนำผลงานวิจัยเสนอต่อเพื่อน เพื่อ อภิปรายงานของตน หรือการเชิญ ผู้เชี่ยวชาญบางสาขามาอภิปรายให้กระจ่าง ชัดยิ่งขึ้น ( เฉลิมและสมคิด,2522)

INTRODUCTION สัมมนา (Seminar) เป็นการรวบรวมข้อมูลความรู้ หลักฐานของความรู้ หรือการค้นคว้าวิจัยเรื่องใดเรื่องหนึ่งซึ่งเป็น หัวข้อ / เรื่องที่ผู้ทำสัมมนาสนใจและได้ ทำการศึกษามาอย่างละเอียดลึกซึ้งแล้ว เพื่อ นำมาเสนอผลงาน โดยการอภิปรายแลกเปลี่ยน ความรู้จากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ เพื่อหา ข้อสรุปหรือข้อคิดเห็นจากการทำสัมมนา

INTRODUCTION S= Specialized E= Exchange Knowledge M= Most interesting Issue I = Identification Topic N= Neatly Work A= Amount of Information R= Research Support

INTRODUCTION S = เฉพาะ E = แลกเปลี่ยนความรู้ m = ฉบับที่น่าสนใจที่สุด I = กำหนดหัวข้อ N = เรียบร้อยการทำงาน A = จำนวนของข้อมูล R = สนับสนุนการวิจัย

ขั้นตอนการทำ สัมมนา กำหนดหัวข้อเรื่องที่สนใจศึกษา ค้นคว้าแหล่งความรู้ / ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (Literature Review) วางเค้าโครงเรื่องย่อยตามการค้นคว้า เขียนเค้าโครง (Proposal) ที่ได้วางไว้พร้อมทั้งเอกสารอ้างอิงจากการค้นคว้า ปรึกษาอาจารย์ / ผู้เชี่ยวชาญเพื่อแก้ไข / ปรับปรุงก่อนนำเสนอในที่ประชุม นำเสนอในที่ประชุม

องค์ประกอบของสัมมนา หัวข้อเรื่อง (Topic) บทนำ (Introduction) การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง (Literature Review) สรุปผลการทดลองและวิจารณ์ (Conclusion and Discussion) เอกสารอ้างอิง (Reference)

หัวข้อเรื่อง (Topic) ต้องมีความกระชับได้ใจความ (Concise) ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือยจนเกินไป ต้องมีขอบเขต (Scope) และมีความ เกี่ยวเนื่องอยู่ภายในหัวข้อเรื่อง การตั้งหัวข้อเรื่องมีหลักคือ อธิบายปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง + ผลติดตาม + ขอบเขตการศึกษา เช่น ที่อับชื้นทำให้เกิดราดำ เป็นอันตรายต่อ สุขภาพผู้ใช้อาคาร ไม่ควรใช้คำที่ซ้ำซ้อน จนไม่ได้ใจความ เช่น การศึกษาการเพิ่มจำนวนผู้ใช้พื้นที่การทำ กิจกรรมสาธารณะใน กทม.

บทนำ (Introduction) กล่าวถึงความเป็นมาของการศึกษาในการ ทำสัมมนาว่าเป็นอย่างไร สถานการณ์ในปัจจุบัน เหตุจูงใจข้อดีของการนำมาศึกษา โยงความสัมพันธ์ระหว่างงานวิจัย / ผลสรุปที่ เคยทำมาแล้วกับสิ่งที่คาดว่าจะหาข้อสรุป จากการสัมมนา

การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง (Literature Review) เป็นการค้นคว้าข้อสรุปหรือข้อเสนอแนะ จากเอกสาร / บทความ / งานวิจัย / หนังสือ ตำรา /Internet/ etc. โดยอ้างอิงชื่อ หรือ คณะบุคคลที่ได้ทำการศึกษางานที่ เกี่ยวข้องมาก่อนหน้านี้ พร้อมระบุปีที่ได้อ้าง ถึง จำเป็นต้องมีความรู้ การเขียน เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรรม ข้อดีคือ จะทำให้ผู้ทำสัมมนาเกิดความคิด เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ จากการสัมมนาที่สนใจศึกษาได้ ปริมาณการทำ Literature Review ต้องมี มากที่สุดเท่าที่สามารถค้นคว้าได้ จะทำให้ เกิดประโยชน์สูงสุด ทำให้เราไม่ต้อง เสียเวลาในการศึกษางานที่ผู้อื่นได้ทำ มาแล้ว

สรุปผลการทดลองและวิจารณ์ (Conclusion and Discussion) เป็นการหาข้อสรุปจากวรรณกรรมที่ได้ ค้นคว้ามาจากงานวิจัย / บทความ / ทฤษฎี ความรู้ ในลักษณะการอภิปรายเปรียบเทียบ ผลที่ได้ ในเหตุผลที่สนับสนุน / หรือขัดแย้ง จากการศึกษานั้นๆ มีการสังเคราะห์ความรู้การอภิปรายจากผู้รู้ / อาจารย์ที่ปรึกษา / ผู้เชี่ยวชาญ โดยตกผลึก เกิดเป็นข้อคิดสรุปรวบยอด จากงานที่ได้ ศึกษา ทำให้ทราบข้อมูลจริง (FACT) ของการศึกษา และสามารถนำความรู้นี้เพื่อไปใช้ในขั้นตอน การทดลองและวิจัยต่อไป (Experiment and Research)

เอกสารอ้างอิง (Reference) เป็นการเขียนข้อมูลทางบรรณานุกรมของ เอกสารทางวิชาการ / งานวิจัยอย่างมีระบบ และถูกต้องตามหลักเกณฑ์การเขียน เอกสารอ้างอิง เช่น จุฬารัตน์ ปริชาติกุล และเกษแก้ว เพียรทวิชัย แบคทีเรียคลีนิกพื้นฐาน ขอนแก่น. โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.2542 Lee YK and Salminen S. The coming of age of probiotic. Trend in Food Science and Technology. 1995; 6: ** ศึกษาได้เพิ่มเติมในหลักการเขียน บรรณานุกรรม / เอกสารอ้างอิง ใน ห้องสมุด / Internet

แหล่งค้นคว้าข้อมูลการสัมมนา ห้องสมุด (Library)

Got some Idea for a seminar topic ?