งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงานของคลัสเตอร์พลังงานResearch University Network – Energy

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงานของคลัสเตอร์พลังงานResearch University Network – Energy"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงานของคลัสเตอร์พลังงานResearch University Network – Energy
ศาสตราจารย์ ดร. ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช ประธานคลัสเตอร์พลังงาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2 ทิศทางของคลัสเตอร์ กรอบระยะเวลา 3 ปี
ปีที่ 1 มุ่งสร้างเครือข่าย การวิจัยด้านพลังงาน ปีที่ 2 แสวงหาทุนวิจัย ปีที่ 3 ENERGY 4.0

3 ผลการดำเนินงาน ในปี พ.ศ. 2559

4 การประชุมคลัสเตอร์พลังงาน จำนวน 4 ครั้ง
การประชุมครั้งที่ 1/2559 วันที่ มีนาคม ณ โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น เยี่ยมชมห้องปฏิบัติการวิจัยด้านพลังงานของมหาวิทยาลัยขอนแก่น และเยี่ยมชมโรงไฟฟ้ามิตรผล ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 40 คน

5 การประชุมครั้งที่ 2/2559 วันที่ 13 มิถุนายน ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพฯ โดยมีกิจกรรมการเสวนาเรื่องความร่วมมือด้านการวิจัยระหว่างคลัสเตอร์พลังงานกับหน่วยงานทุนภายนอก ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 40 คน

6 การประชุมครั้งที่ 3/2559 วันที่ 17 ตุลาคม ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีกิจกรรมการนำเสนอรายงานความก้าวหน้าของโครงการวิจัยที่ได้รับทุนภายในคลัสเตอร์พลังงาน ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน

7 การประชุมครั้งที่ 1/2560 วันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ ณ โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์ 2000 จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีกิจกรรมการบรรยายของวิทยากร การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าของโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และเยี่ยมชมระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ณ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน

8 การแสวงหาทุนวิจัย ในปี พ.ศ นอกเหนือไปจากการแสวงหาเครือข่ายเพิ่มเติมแล้ว ยังกำหนดให้ทิศทางการดำเนินงาน มุ่งแสวงหาทุนวิจัยจากแหล่งทุนต่างๆ โดยมุ่งเน้นให้ผลงานวิจัยที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในกลุ่มเป้าหมายทั้งภาครัฐและเอกชน โดยการดำเนินงานจะต้องมีการติดตามและรายงานความก้าวหน้าของโครงการอย่างต่อเนื่อง

9 1. การได้รับจัดสรรทุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
คลัสเตอร์พลังงาน ได้รับจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ภายใต้แผนงานวิจัยตอบสนองนโยบาย/เป้าหมายของรัฐบาล ประจำปีงบประมาณ 2559 โดยแผนกิจกรรม “โครงการเปลี่ยนน้ำมันปาล์มและน้ำมันเหลือทิ้งจากทะลายปาล์ม เป็นดีเซลโดยตรงเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า 100 กิโลวัตต์” ศ. ดร. ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวหน้าแผนกิจกรรม ศ. ดร. ธราพงษ์ วิทิตศานต์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้อำนวยการแผนงาน งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวน 32,000,000 บาท

10 2. การจัดสรรทุนวิจัยภายในคลัสเตอร์พลังงาน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้สนับสนุนงบประมาณจากเงินกองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2560 จำนวน 2,700,000 บาท ให้กับคลัสเตอร์พลังงาน ภายใต้โครงการเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (Research University Network: RUN) เพื่อดำเนินการวิจัย จำนวนทั้งสิ้น 9 โครงการ

11 3. การรวมกลุ่มของนักวิจัยในการเข้าร่วมโครงการ/ได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก อันเป็นผลที่สืบเนื่องมาจากประโยชน์ของการเข้าร่วมในคลัสเตอร์พลังงาน 3.1 นักวิจัยในกลุ่ม RUN ได้เริ่มเข้าร่วมโครงการภายใต้ความร่วมมือต่างๆ ได้แก่ เข้าร่วมการประชุม The 7th Renewable Energy Workshop between China and Thailand under the collaboration between NRCT – NSFC, 2559 ศ.ดร.ธราพงษ์ วิทิตศานต์ จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย ศ.ดร.อลิศรา เรืองแสง มหาวิทยาลัยขอนแก่น รศ.ดร.ธนากร วงศ์วัฒนาเสถียร รศ.ดร.สุเมธ ไชยประพัทธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

12 3.2 นักวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการ การพัฒนาพลังงานทดแทนและ การประยุกต์ใช้ ในชุมชนสีเขียว ภายใต้โครงการ ท้าทายไทย ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ดังนี้ แผนวิจัย (6,005,000 บาท) ต้นแบบการผลิตพลังงานจากพลังงานทดแทน เพื่อชุมชนสีเขียว ผศ.ดร. กลยุทธ ปัญญาวุธโธ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แผนวิจัย (2,999,000 บาท) การพัฒนาและประยุกต์ใช้พลังงานทดแทนอย่างมีประสิทธิภาพ ในชุมชนภาคอีสาน รศ. อำนาจ สุขศรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น แผนวิจัย (3,000,000 บาท) การผลิตและการทดสอบเชื้อเพลิงผสมเพื่อลดปริมาณการใช้น้ำมันดีเซลในเครื่องยนต์การเกษตร รศ. กำพล ประทีปชัยกูร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

13 ได้รับความเห็นชอบในหลักการ งบประมาณ 20 ล้านบาท
3.2 การเสนอขอรับทุนวิจัยภายใต้กรอบแผนการดำเนินงานวิจัยและพัฒนาของจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หัวข้อวิจัย “โครงการการศึกษาเทคโนโลยีและพัฒนาระบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าความเร็วรอบต่ำสำหรับประเทศไทยต่อยอดลมแรง” ได้รับความเห็นชอบในหลักการ งบประมาณ 20 ล้านบาท ดร.มนตรี สุขเลื่อง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รศ.ดร.ธนากร วงศ์วัฒนาเสถียร มหาวิทยาลัยขอนแก่น รศ.ดร.วิโรจน์ บุญญภิญโญ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

14 แผนการดำเนินงาน ในปี พ.ศ. 2560

15 ตารางแผนดำเนินงาน ปีที่ 3 (ปี พ.ศ. 2560) พันธกิจคลัสเตอร์พลังงาน
Team Manager 1. กิจกรรมบ่มเพาะนักวิจัยพลังงานรุ่นใหม่ 4.0 ศ.ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช (มธ.) 2. จัดทำฐานข้อมูลนักวิจัยในคลัสเตอร์พลังงาน และ Energy Source ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว นโยบายการจัดการพลังงาน (จัดทำเว็บไซต์) รศ.ดร.ธนากร วงศ์วัฒนาเสถียร (มข.) รศ.ดร.ธิติ บวรรัตนารักษ์ (จุฬา) 3. การประชาสัมพันธ์คลัสเตอร์พลังงาน ผ่าน social network และทำสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ เพื่อแนะนำคลัสเตอร์ต่อองค์กรต่างๆ รศ.ดร.พิษณุ ตู้จินดา (มธ.) 4. โครงการวิจัยร่วมกับอาชีวะ 5. การทำวิจัยตอบสนองชุมชน รศ.ดร.เพ็ญจิตร ศรีนพคุณ (มก.) ผศ.ดร.ธนิท เรืองรุ่งชัยกุล (มธ.)

16 ตารางแผนดำเนินงาน ปีที่ 3 (ปี พ.ศ. 2560) พันธกิจคลัสเตอร์พลังงาน
Team Manager 6. การสร้างความร่วมมือภาคอุตสาหกรรม/ภาคเอกชน รศ.ดร.สุเมธ ไชยประพันธ์ (มอ.) อ.ดร. ทรงยศ โชติชุติมา (มก.) 7. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ และแหล่งทุน (Collaboration with Government Agency) รศ.ดร.เพ็ญจิตร ศรีนพคุณ (มก.) รศ.ดร.คณิต วัฒนาวิเชียร (จุฬา) 8. การสร้างงานวิจัยลักษณะ Interdisciplinary (Cross Innovative / Inter Cluster Research) รศ.ดร.พัชณิตา ธรรมยงค์กิจ (จุฬา) รศ.ดร.ปัญญา จารุศิริ (จุฬา) 9. โครงการวิจัยที่ร่วมมือกับต่างประเทศ (International Collaboration) ศ.ดร.ทนงเกียรติ เกียรศิริโรจน์ (มช.)

17 การบ่มเพาะนักวิจัยพลังงานรุ่นใหม่ 4.0 : คลัสเตอร์พลังงาน
คุณสมบัติของนักวิจัยที่จะเข้าร่วมโครงการ 1. เป็นอาจารย์ประจำสังกัดมหาวิทยาลัยในเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย ทั้ง 8 มหาวิทยาลัย 2. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท – เอก อายุไม่เกิน 35 ปี 3. มีฐานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน 4. ได้รับการอนุมัติจากหน่วยงานต้นสังกัด

18 Building, Industries, transportation
Processing Micro-Grid Wind/ Water Solar Building, Industries, transportation Biomass Future trend Energy 3 Day 2 Day 24 Young Researchers from 8 U ศูนย์วิจัยพลังงาน จุฬา PTT - GC EGAT มทร. คลอง 6 Private Company Grant agencies & Proposal Draft Lecture and group discussion Site Visit

19 กิจกรรม แผนการดำเนินการ ก.พ. 60 มี.ค. 60 เม.ย. 60 พ.ค. 60 มิ.ย. 60 ก.ค. 60 ส.ค. 60 ก.ย. 60 (1) ส่งรายชื่อจาก 8 มหาวิทยาลัย (24 คน) (2) Lecture and Group Discussion (ครั้งที่ 1) (3) Site visit 1: ศูนย์วิจัยพลังงานจุฬา (สระบุรี) (4) Site visit 2: PTT-GC (5) Site visit 3: BLCP Power, Rayong (6) Site visit 4: EGAT (7) Site visit 5: หน่วยวิจัยพลังงานทดแทนกังหันลมผลิตไฟฟ้า มทร.ธัญบุรี (8) Lecture and Group Discussion (ครั้งที่ 2) (9) Proposal Draft

20 ขอขอบคุณ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์พลังงาน กองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โทร ต่อ โทรสาร


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงานของคลัสเตอร์พลังงานResearch University Network – Energy

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google